การระบาดของสมองอักเสบในรัฐพิหาร พ.ศ. 2562
ที่ตั้งของอำเภอมุซัฟฟัรปุระในรัฐพิหาร | |
วันที่ | 1 มิถุนายน – 20 กันยายน ค.ศ. 2019 |
---|---|
ที่ตั้ง | อำเภอมุซัฟฟัรปุระ และอำเภอข้างเคียงในรัฐพิหาร, ประเทศอินเดีย |
ประเภท | สมองอักเสบ |
สาเหตุ | ไม่ชัดเจน |
เสียชีวิต | 161 |
ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2562 ได้มีการระบาดของภาวะสมองอักเสบเฉียบพลัน (AES) ในพื้นที่อำเภอมุซัฟฟัรปุระและอำเภอข้างเคียงในรัฐพิหาร ประเทศอินเดีย เป็นผลให้มีผู้เสียชีวิตเป็นเด็กมากกว่า 150 ราย ส่วนมากเป็นผลมาจากภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ และยังมีรายงานกรณีตามมาอีกในเดือนถัด ๆ มา ที่มาของการระบาดนั้นไม่สามารถระบุชัดเจนได้ ปัจจัยสำคัญที่พิจารณาว่าส่งผลให้เกิดการระบาดนี้ได้แก่ภาวะขาดสารอาหาร, สภาภูมิอากาศ, ความสะอาด, โครงสร้างสาธารณสุขที่ไม่เพียงพอ และการชาดการระมัดระวัง มีการอ้างว่าอาจเป็นผลมาจากพิษในผลไม้ ลิ้นจี่
ประวัติศาสตร์
[แก้]การระบาดของภาวะสมองเฉียบอักเสบพลัน (AES) เคยเกิดขึ้นมาก่อนในพื้นที่ตอนเหนือของรัฐพิหาร และพื้นที่ทางตะวันออกของรัฐอุตตรประเทศ ของประเทศอินเดีย ผู้ป่วยรายแรกด้วยโรค AES ในอำเภอมุซัฟฟัรปุระ (Muzaffarpur district) มีบันทึกไว้ในปี 1995[1][2][3] ในปี 2013 ได้มีผู้เสียชีวิต 143 ราย, 355 รายในปี 2014, 11 รายในปี 2015, สี่รายในปี 2016, 11 รายในปี 2017 และ 7 รายในปี 2018[1][4] ในไม่กี่ปีที่ผ่านมานั้น ยอดผู้เสียชีวิตอยู่ที่ต่ำกว่า 20 รายต่อปีมาตลอด[2]
การระบาด
[แก้]ในเดือนมิถุนายน 2019 ได้มีการระบาดของโรค AES ในพื้นที่ 222 บล็อกในอำเภอมุซัฟฟัรปุระ และอำเภอข้างเคียงในรัฐพิหาร[2][5]
มีเด็กเสียชีวิตรวม 154 รายภายในสามสัปดาห์แรกของเดือนมิถุนายน 2019[6] และมี 440 รายที่ถูกนำส่งเข้าโรงพยาบาลในสามสัปดาห์เดียวกัน[4] มีเด็กอย่างน้อย 85 รายที่เสียชีวิตที่วิทยาลัยแพทยศาสตร์และโรงพยาบาลศรีกฤษณะ (Sri Krishna Medical College and Hospital: SKMCH) โรงพยาบาลรัฐที่ใหญ่ที่สุดในรัฐพิหาร[4][7] Most of them were aged between 1 and 10 years.[8][9][10]
นับตั้งแต่ 1 มิถุนายน ถึง 20 กันยายน 2019 มีผู้ป่วยรวม 647 ราย และเสียชีวิตรวม 161 ราย[11]
สาเหตุ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
สาเหตุของการระบาดนี้เป็นที่ไม่แน่ชัด[12][13]
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 "Explained: What causes AES? What makes Bihar so vulnerable?". The Indian Express (ภาษาIndian English). Indian Express Group. 2019-06-18. OCLC 70274541. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 June 2019. สืบค้นเมื่อ 2019-06-18.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 Slater J (17 June 2019). "Could the humble litchi fruit be behind a mysterious sickness that has killed nearly 100 children in India?". The National Post. ISSN 1486-8008. สืบค้นเมื่อ 17 June 2019.
- ↑ Dutta, Prabhash K. (2019-06-17). "Bihar encephalitis deaths: What Nitish Kumar may learn from Yogi Adityanath govt". India Today. Aroon Purie. ISSN 0254-8399. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 June 2019. สืบค้นเมื่อ 2019-06-18.
- ↑ 4.0 4.1 4.2 "Heat, lack of nutrition, awareness add to AES, Bihar kids toll over 100". The Indian Express (ภาษาIndian English). Indian Express Group. 2019-06-18. OCLC 70274541. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 June 2019. สืบค้นเมื่อ 2019-06-18.
- ↑ "India - Acute Encephalitis Syndrome (AES) in Bihar (DG ECHO, media) (ECHO Daily Flash of 17 June 2019) - India". ReliefWeb (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 June 2019. สืบค้นเมื่อ 2019-06-18.
- ↑ Ghosh, Shampa; Raghunath, Manchala; Sinha, Jitendra Kumar (2019-09-14). "Recurring acute encephalitis syndrome outbreaks in Bihar, India". The Lancet (ภาษาอังกฤษ). 394 (10202): 914. doi:10.1016/S0140-6736(19)31811-2. ISSN 0140-6736. PMID 31526729.
- ↑ "Nitish Kumar Visits Encephalitis Ground Zero, "Go Back" Cry Protesters". NDTV.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 June 2019. สืบค้นเมื่อ 2019-06-18.
- ↑ "Encephalitis toll reaches 84 in Bihar's Muzaffarpur". India Today. Aroon Purie. 16 June 2019. ISSN 0254-8399. OCLC 321350054. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 June 2019. สืบค้นเมื่อ 17 June 2019.
- ↑ "Encephalitis: Death toll reaches 100 in Bihar". India Today. Aroon Purie. 17 June 2019. ISSN 0254-8399. OCLC 321350054. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 June 2019. สืบค้นเมื่อ 17 June 2019.
- ↑ "100 Children Die Of Encephalitis In 16 Days In Bihar's Muzaffarpur". NDTV.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 June 2019. สืบค้นเมื่อ 17 June 2019.
- ↑ "Acute Encephalitis Syndrome strikes north Bihar again, 2 children dead". www.downtoearth.org.in (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-01-04.
- ↑ "India encephalitis death toll rises to 103" (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 2019-06-18. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 June 2019. สืบค้นเมื่อ 2019-06-18.
- ↑ Chatterjee, Patralekha (2019-06-29). "No cause identified for death of children in Bihar, India". The Lancet (ภาษาอังกฤษ). 393 (10191): 2578. doi:10.1016/S0140-6736(19)31509-0. ISSN 0140-6736. PMID 31258117.