การประท้วงในประเทศศรีลังกา พ.ศ. 2565
การประท้วงในประเทศศรีลังกา พ.ศ. 2565 | |||
---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ วิกฤตเศรษฐกิจศรีลังกา | |||
![]() ชาวศรีลังกาประท้วงหน้าสำนักเลขาธิการประธานาธิบดีที่เมืองโคลัมโบ 13 เมษายน พ.ศ. 2565 | |||
วันที่ | 15 มีนาคม พ.ศ. 2565[1] – 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565[2] (7 เดือน 4 สัปดาห์ 2 วัน) | ||
สถานที่ | ประเทศศรีลังกา | ||
สาเหตุ |
| ||
เป้าหมาย |
| ||
วิธีการ | การเรียกร้องทางการเมือง, ความเคลื่อนไหวทางอินเทอร์เน็ต, การจลาจล, การหยุดงาน, การประท้วง | ||
สถานะ | ยังดำเนินอยู่
| ||
คู่ขัดแย้ง | |||
| |||
ผู้นำ | |||
| |||
ความสูญเสีย | |||
|
การประท้วงในประเทศศรีลังกา พ.ศ. 2565 เป็นการประท้วงต่อเนื่องของกลุ่มผู้ประท้วงที่ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด ส่วนใหญ่เป็นประชาชนทั่วไปและพรรคการเมืองฝ่ายค้านที่ต่อต้านรัฐบาลของประธานาธิบดีโคฐาภยะ ราชปักษะ สาเหตุมาจากความเชื่อที่ว่า [ตระกูล] ราชปักษะไม่ได้ทำงานที่ดีในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศศรีลังกาซึ่งทำให้เกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจด้วยอัตราเงินเฟ้อรุนแรง ไฟฟ้าดับทุกวันนานถึง 10–13 ชั่วโมง การขาดแคลนเชื้อเพลิง และสิ่งอุปโภคจำเป็นมากมาย ผู้ประท้วงหลายคนต้องการให้คณะรัฐมนตรีที่ดำเนินการโดยตระกูลราชปักษะลาออก และเลือกตั้งคณะผู้ปกครองจากระบอบประชาธิปไตยที่มีคุณสมบัติเหมาะสมชุดใหม่[11][19]
ผู้ประท้วงมักตะโกนคำยอดนิยมของการเรียกร้อง เช่น "กลับบ้านซะโคฐา", "กลับบ้านซะราชปักษะ" และ "โคฐาปิสเส็ก" (โคฐาสติวิปลาส)[20]
การประท้วงส่วนใหญ่เป็นการแสดงโดยประชาชนทั่วไป รวมทั้งครู นักเรียน แพทย์ พยาบาล ผู้เชี่ยวชาญด้านไอที เกษตรกร ทนายความ นักเคลื่อนไหวทางสังคม นักกีฬา วิศวกร และเจ้าหน้าที่ตำรวจบางนาย[21][22]
เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2565 ประธานาธิบดีโคฐาภยะ ราชปักษะ และนายกรัฐมนตรีรนิล วิกรมสิงหะ ประกาศลาออกหลังจากผู้ประท้วงบุกโจมตีบ้านในโคลัมโบ[23] อย่างไรก็ตาม ราชปักษะสัญญาว่าจะลาออกในวันที่ 13 กรกฎาคม แต่กลับลี้ภัยออกจากประเทศไปยังมัลดีฟส์และต่อมาไปยังประเทศสิงคโปร์ ราชปักษาลาออกจากดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีในเวลาต่อมา[24][25] โดยลาออกเป็นทางการเมื่อวันที่ 14 กรกฏาคม พ.ศ. 2565[26]วันที่ 11 สิงหาคม เขาเดินทางมาถึงประเทศไทย
หมายเหตุ
[แก้]- ↑ เสียชีวิตจากการถูกตำรวจยิง 3 คน, เสียชีวิตจากการถูกอมรกีรติ อตุโกรละ (สมาชิกรัฐสภา) ยิง 1 คน, เสียชีวิตจากสาเหตุอื่น 2 คน
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Sri Lanka's main opposition to hold demonstration on March 15 in Colombo". economynext.com. Echelon Media Company. 7 March 2022. สืบค้นเมื่อ 11 May 2022.
- ↑ "Sri Lanka's Budget for 2023 aims a way out of current economic crisis". 14 November 2022.
- ↑ "Sri Lanka's all-powerful Rajapaksas under fire". France 24 (ภาษาอังกฤษ). 1 April 2022. สืบค้นเมื่อ 1 April 2022.
- ↑ Jayasinghe, Uditha; Ghoshal, Devjyot (13 July 2022). "Rajapaksa dynasty draws to humiliating close in Sri Lanka". Reuters.
- ↑ "Former Sri Lanka PM to summon before Human Rights Commission regarding attack on protesters". ANI News (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 29 May 2022.
- ↑ "Two killed in shooting near Weeraketiya PS chairman's residence". Adaderana. 9 May 2022.
- ↑ 7.0 7.1 "Sri Lanka MP among five killed on day of violence". Al Jazeera. 8 May 2022.
- ↑ "UPDATE – One dead, 24 injured from gunshot injuries as protestors and police clash in Rambukkana – Latest News | Daily Mirror". www.dailymirror.lk.
- ↑ "Man gets electrocuted while protesting against power cuts in Sri Lanka: Police". Deccan Herald. Colombo. 3 April 2022. สืบค้นเมื่อ 3 April 2022.
- ↑ "Local rap star Shiraz Rudebwoy dies at protest site". Daily Mirror. Colombo. 12 April 2022. สืบค้นเมื่อ 17 April 2022.
- ↑ 11.0 11.1 Dhillon, Amrit (1 April 2022). "Sri Lanka: 50 injured as protesters try to storm president's house amid economic crisis". The Guardian (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 3 April 2022.
- ↑ "Sri Lanka PM Mahinda Rajapaksa offers to resign as crisis worsens". Al Jazeera. 9 May 2022.
- ↑ "Sri Lanka arrests over 600 protestors violating curfew in Western Province". The New Indian Express. 3 April 2022. สืบค้นเมื่อ 3 April 2022.
- ↑ "Sri Lankan PM Resigns, Ruling Party MP Killed In Clashes: 10 Points". NDTV. 8 May 2022.
- ↑ "Imaduwa PS Chairman dead following clash". 10 May 2022.
- ↑ "Violence rages in Sri Lanka, 8 killed in Negombo clash". Ani. 11 May 2022.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ:5
- ↑ "CID arrests MPs Sanath Nishantha and Milan Jayathilake". Ada Derana. 17 May 2022.
- ↑ "Main opposition SJB to hold mass protest rally in Colombo". NewsWire. 13 March 2022. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-03-15. สืบค้นเมื่อ 1 April 2022.
- ↑ Srinivasan, Meera (4 April 2022). "Opposition reject Gotabaya call to join cabinet amid crisis". The Hindu (ภาษาIndian English). ISSN 0971-751X. สืบค้นเมื่อ 10 April 2022.
- ↑ "Sri Lanka's Leaderless Protests". thediplomat.com (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 18 April 2022.
- ↑ "Sri Lanka: The protesters". The Indian Express (ภาษาอังกฤษ). 17 April 2022. สืบค้นเมื่อ 18 April 2022.
- ↑ "Protestors storm Sri Lanka president's official residence in popular uprising". Economy Next. 2022-07-09. สืบค้นเมื่อ 2022-07-09.
- ↑ Jayasinghe, Uditha (14 July 2022). "Sri Lanka awaits president's resignation after flight". Reuters. Colombo. สืบค้นเมื่อ 14 July 2022.
- ↑ "Sri Lanka's embattled leader leaves Maldives on Saudi plane". Indian Express. 14 July 2022. สืบค้นเมื่อ 14 July 2022.
- ↑ "President Gotabaya Rajapaksa Resigns". Hiru News. 14 July 2022. สืบค้นเมื่อ 14 July 2022.