การนับอายุแบบเอเชียตะวันออก
หน้าตา
การนับอายุแบบเอเชียตะวันออก ครอบคลุมกลุ่มวิธีการที่เกี่ยวข้องกับการนับอายุของมนุษย์ที่ปฏิบัติกันในเขตวัฒนธรรมเอเชียตะวันออก โดยที่อายุคือตัวเลขของปีตามปฏิทินที่บุคคลนั้น ๆ มีชีวิตอยู่ เริ่มด้วยด้วยเลข 1 เมื่อแรกเกิด และเพิ่มขึ้นทุกวันขึ้นปีใหม่ อายุที่คำนวณด้วยวิธีนี้มักมีค่ามากกว่าอายุที่เริ่มต้นด้วยเลข 0 เมื่อแรกเกิดและเพิ่มขึ้นทุกวันเกิดไป 1 หรือ 2 ปี บันทึกประวัติศาสตร์ของประเทศจีน ประเทศญี่ปุ่น ประเทศเกาหลี และประเทศเวียดนามมักยึดการนับอายุตามวิธีการนี้ ซึ่งรายละเอียดเฉพาะมีความแตกต่างกันออกไปขึ้นกับเวลาและสถานที่ รัฐบาลเกาหลีใต้เปลี่ยนมาใช้ระบบการนับอายุแบบสากลเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 2023[1]
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ Jun, Ji-hye (2023-06-26). "Korea's age system to change from Wednesday". The Korea Times (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2024-09-15.
บรรณานุกรม
[แก้]- DuBois, Jill (2004). Korea. Vol. 7 of Cultures of the world. Marshall Cavendish. pp. 72–73. ISBN 0-7614-1786-9.
- Hilts, J. D.; Kim, Minkyoung (2002). Korean phrasebook. Lonely Planet. p. 228. ISBN 1-74059-166-6.
- Song, Jae Jung (2005). The Korean language: structure, use and context. Routledge. pp. 81–82. ISBN 0-415-32802-0.