การทำให้เป็นอาณานิคมของยุโรปในทวีปอเมริกา
หน้านี้มีเนื้อหาเป็นภาษาต่างประเทศ คุณสามารถช่วยพัฒนาหน้านี้ได้ด้วยการแปล ยกเว้นหากเนื้อหาเกือบทั้งหมดไม่ใช่ภาษาไทย ให้แจ้งลบแทน |
การทำให้เป็นอาณานิคมของยุโรปในทวีปอเมริกา เกิดจากยุคแห่งการสำรวจโดยมีจุดประสงค์เพื่อหาคู่ค้าขายใหม่ และโดยเฉพาะเพื่อการแสวงหาสินค้าเพื่อสนองความต้องการของตลาดตามต้องการ
ประวัติ[แก้]
เริ่มขึ้นในปีค.ศ. 1492 เมื่อสเปนที่มีหัวหน้าคือคริสโตเฟอร์ โคลัมบัสได้ค้นพบ“โลกใหม่” ซึ่งก็คือทวีปอเมริกา ในปี ค.ศ. 1500 นักเดินเรือชาวโปรตุเกสเปดรู อัลวาเรซ กาบรัลก็เดินทางไปสำรวจดินแดนในอเมริกาใต้ที่ปัจจุบันเรียกว่าบราซิล การเลี่ยงเส้นทางที่ไม่ให้ทับกันระหว่างสองมหาอำนาจนี้เป็นสิ่งจำเป็นเพื่อเป็นการหลีกเลี่ยงความขัดแย้งระหว่างสองราชอาณาจักร[1] ในที่สุดพระสันตะปาปาก็เข้ามาแก้ไขปัญหาในปี ค.ศ. 1494 ในข้อตกลงในสนธิสัญญาทอร์เดสซิลลาส (Treaty of Tordesillas) ที่แบ่งโลกระหว่างสองมหาอำนาจ โปรตุเกส “ได้รับ” ทุกอย่างนอกยุโรปทางตะวันออกของเส้นที่แล่น 270 ลีก (League) ทางตะวันตกของหมู่เกาะแหลมแวร์เดที่ทำให้โปรตุเกสมมีอิทธิพลในการควบคุมแอฟริกา, เอเชีย และทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปอเมริกา (บราซิล) ส่วนสเปนได้ทุกอย่างทางตะวันตกของเส้นแบ่งที่ระบุ ซึ่งส่วนใหญ่ยังคงเป็นดินแดนที่ยังไม่ได้รับการสำรวจที่มารู้จักกันต่อมาว่าเป็นทางเด้านตะวันตกของทวีปอเมริกาและหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก[2]
การแบ่งสรรทวีปอเมริกาโดยชาวยุโรป[แก้]
- คิวบา (จนถึงปี 1898)
- New Granada (1717–1819)
- นิวสเปน (1521–1821)
- Viceroyalty of Peru (1542–1824)
- เปอร์โตริโก (จนถึงปี 1898)
- Rio de la Plata (1776–1814)
- ซานโตโดมิงโก (last Spanish rule 1861-1865)
- บริติชอเมริกา (1607– 1783)
- นิวฟันด์แลนด์ (1583-1949)
- สิบสามอาณานิคม (1607- 1783)
- รูเพิตส์แลนด์ (1670-1870)
- บริติชโคลัมเบีย (1793-1871)
- บริติชนอร์ทอเมริกา (1783 – 1907)
- บริติชเวสอิเดีย
- นิวคูร์ลันด์ (โทบาโก) (1654–1689)
- อินเดียตะวันตกของเดนมาร์ก (1754–1917)
- กรีนแลนด์ (1814 - today)
- นิวเนเธอร์แลนด์ (1609–1667)
- Essequibo (1616–1815)
- หมู่เกาะเวอร์จินของดัตช์ (1625–1680)
- Berbice (1627–1815)
- New Walcheren (1628–1677)
- Dutch Brazil (1630–1654)
- Pomeroon (1650–1689)
- Cayenne (1658–1664)
- Demerara (1745–1815)
- Suriname (1667–1954)
- กือราเซาและรัฐภายใต้ความคุ้มครอง (1634–1954)
- ซินต์เอิสตาซียึสและรัฐภายใต้ความคุ้มครอง (1636–1954)
- นิวฟรานซ์ (1605–1763)
- อะเคเดีย (1605–1713)
- แคนาดา (1608–1763)
- ลุยเซียนา (1682–1763, 1800–1803)
- นิวฟันด์แลนด์ (1662–1713)
- เกาะเคปเบรตัน (1713–1763)
- เฟรนช์เกียนา (1763-today)
- เฟรนช์เวสอิเดีย
- เซนต์ดอมินิก (1626–1804, now Haiti)
- Tobago
- หมู่เกาะเวอร์จิน
- ฟรานซ์แอนตาร์กติก (1555–1567)
- อิควิทอเรียลฝรั่งเศส (1612–1615)
- แซ็ง-บาร์เตเลมี (1651-1665)
- เซนต์คริสโตเฟอร์ (1651-1665)
- เซนต์ครอย (1651-1665)
- Saint Martin (1651-1665)
- กรีนแลนด์ (986-1814)
- Vinland (Partly in the 1000s)
- Dano-Norwegian West Indies (1754–1814)
- Sverdrup Islands (1898–1930)
- Erik the Red's Land (1931-1933)
- Colonial Brazil (1500–1815) became a Kingdom, United Kingdom of Portugal, Brazil and the Algarves.
- Cisplatina (1808–1822, today Uruguay)
- บาร์เบโดส (1536–1620)
- เฟรนช์เกียนา (1809–1817)
- รัชเชียนอเมริกา (อะแลสกา), (1784–1867)
- โนวาสโกเชีย (1622–1632)
- Darien Scheme on the Isthmus of Panama (1698–1700)
- Stuarts Town, Carolina (1684–1686)
- Darien, Georgia (from 1735)
- นิวสวีเดน (1638–1655)
- แซ็ง-บาร์เตเลมี (1785–1878)
- กัวเดอลุป (1813–1815)
ดูเพิ่ม[แก้]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ Jensen, De Lamar (1992), Renaissance Europe 2nd ed. pg. 345
- ↑ Fernandez-Armesto, Felipe (2006). Pathfinders: A Global History of Exploration. W.W. Norton & Company. p. 202. ISBN 0-393-06259-7.