การทัพหมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การทัพหมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์
ส่วนหนึ่งของ สงครามแปซิฟิกในสงครามโลกครั้งที่สอง

กองกำลังญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกที่ชวา
วันที่8 ธันวาคม ค.ศ. 1941 – 9 มีนาคม ค.ศ. 1942[1]
สถานที่
ผล ญี่ปุ่นชนะ
ดินแดน
เปลี่ยนแปลง
ญี่ปุ่นยึดครองหมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์
คู่สงคราม

กองบัญชาการ ABDA:
เนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์

 สหราชอาณาจักร
 สหรัฐ
 ออสเตรเลีย
 นิวซีแลนด์
 ญี่ปุ่น
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
สหราชอาณาจักร Archibald Wavell
เนเธอร์แลนด์ A. T. van S. Stachouwer Surrendered
เนเธอร์แลนด์ Hein ter Poorten Surrendered
สหรัฐ Thomas C. Hart
เนเธอร์แลนด์ Conrad Helfrich
เนเธอร์แลนด์ Karel Doorman 
สหราชอาณาจักร Richard Peirse
จักรวรรดิญี่ปุ่น Hisaichi Terauchi
จักรวรรดิญี่ปุ่น Kiyotake Kawaguchi
จักรวรรดิญี่ปุ่น Ibō Takahashi
จักรวรรดิญี่ปุ่น Hitoshi Imamura
จักรวรรดิญี่ปุ่น Shōji Nishimura
จักรวรรดิญี่ปุ่น Jisaburō Ozawa
จักรวรรดิญี่ปุ่น Takeo Takagi
จักรวรรดิญี่ปุ่น โนบูตาเกะ คนโด
กำลัง

148,000[2]

  • 100,000 local forces[3]
  • 40,000 Dutch regulars[3]
  • 8,000 Anglo-American regulars[4]
33 warships[5]
41 submarines[6]
234 aircraft[3]
52 warships[7][8]
18 submarines[6]
107,800 personnel
193 tanks & tankettes
2,017 guns & mortars
5,898 motor vehicles
11,750 horses
609 aircraft[9]
ความสูญเสีย
2,384 killed
100,000+ captured[10]
671 killed[11]

การทัพหมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ ของปี ค.ศ. 1941-1942 เป็นการพิชิตหมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ (ปัจจุบันคืออินโดนีเซีย) โดยกองกำลังจากจักรวรรดิญี่ปุ่นในวันแรกของการทัพแปซิฟิกในสงครามโลกครั้งที่สอง กองกำลังจากฝ่ายสัมพันธมิตรได้พยายามป้องกันเกาะแต่ไม่สำเร็จ หมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ได้ถูกกำหนดเป็นเป้าหมายโดยญี่ปุ่นสำหรับทรัพยากรน้ำมันที่อุดมสมบูรณ์ซึ่งจะกลายเป็นทรัพย์สินที่สำคัญในช่วงสงคราม การทัพครั้งนี้และการยึดครองของญี่ปุ่นในช่วงสามปีครึ่งก็เป็นปัจจัยสำคัญในการสิ้นสุดการปกครองอาณานิคมดัตช์ในภูมิภาคแห่งนั้น

อ้างอิง[แก้]

  1. Dutch military commanders and the Governor-General surrendered on 9 March. (Adrian Vickers, (2005, A History Modern of Indonesia, Cambridge; Cambridge University Press, p. 87.
  2. Does not include naval personnel
  3. 3.0 3.1 3.2 "Chapter 10: Loss of the Netherlands East Indies". The Army Air Forces in World War II: Vol. 1 – Plans & Early Operations. HyperWar. สืบค้นเมื่อ 31 August 2010.
  4. George McTurnan Kahin and Adrian Kahin, Subversion as Foreign Policy, New York: The New Press, 1995 (ISBN 1565842448), Pp 22
  5. Morison (1948), pp. 158, 271–273, 293 and 311
  6. 6.0 6.1 "Submarine War in the Dutch East Indies (1941–1942)". Dutch East Indies Campaign website. 1999–2000. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-07-26. สืบค้นเมื่อ 31 August 2010.
  7. Morison (1948), pp. 274– 276, 296, 384
  8. Morison (1948), pp. 275–276
  9. War History Office of the National Defense College of Japan; Willem Remmelink, trans., The Invasion of the Dutch East Indies (Leiden University Press, 2015) pp. 95, 98, 417. Retrieved 11/21/2017
  10. "World War II: The Defensive Phase" เก็บถาวร 2019-07-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, US Army Center Of Military History, p. 87
  11. Francis Pike, "Hirohito's War: The Pacific War, 1941–1945", 2015, p. 309.