การดูแลตนเอง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ในด้านบริการสุขภาพ การดูแลตนเองหมายถึง การทำหน้าที่กำกับของมนุษย์ที่จำเป็นซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุมของปัจเจกบุคคล ที่ไตร่ตรองไว้และริเริ่มด้วยตนเอง[1]

บางคนจัดการดูแลตนเองเป็นภาวะต่อเนื่องกับผู้ให้บริการด้านสุขภาพที่ปลายตรงข้ามของการดูแลตนเอง[2] ในแพทยศาสตร์สมัยใหม่ เวชศาสตร์ป้องกันปรับแนวใกล้ชิดกับการดูแลตนเอง การไม่ปฏิบัติตามคำแนะนำทางการแพทย์และการเริ่มต้นโรคทางจิตทำให้การดูแลตนเองเป็นไปได้ยาก[3] มองว่าการดูแลตนเองเป็นทางแก้บางส่วนของปัญหารัฐบาลเสียค่าใช้จ่ายการบริบาลสุขภาพเพิ่มขึ้นทั่วโลก ความคิดการดูแลตนเองเป็นสาหลักของการบริบาลสุขภาพและสังคมหมายความว่ามันเป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบบริการสุขภาพสมัยใหม่ที่มีระเบียบและบทกฎหมายควบคุม[4]

การดูแลตนเองถือเป็นรูปแบบปฐมภูมิของการบริบาลผู้ป่วยที่มีโรคเรื้อรังที่มีการตัดสินใจประจำวันหรือจัดการเองซึ่งความเจ็บป่วยของตน[5] การจัดการตนเองสำคัญและการศึกษาการจัดการตนเองส่งเสริมการศึกษาผู้ป่วยแบบเดิมในการบริบาลปฐมภูมิเพื่อสนับสนุนผู้ป่วยให้ดำรงชีพอยู่ด้วยคุณภาพชีวิตดีที่สุดกับภาวะเรื้อรังของตน[1][5] การดูแลตนเองมาจากการเรียนรู้ มีความมุ่งหมายและต่อเนื่อง[6]

ในปัจจุบัน กระแสการดูแตนเองเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย ในสังคมปัจจุบัน เนื่องจากด้วยสภาพแวดล้อมต่างๆในปัจจุบัน มีส่วนช่วยกระตุ้นให้ประชาชนทั่วโลก จำเป็นต้องหันมาใส่ใจสุขภาพมากขึ้น เช่น ปัญหาฝุ่นควัน pm.2.5 [7]

ปัญหาการแพร่ระบาดของไวรัส Covid 19[8] ทำให้กระแสการดูแลสุขภาพและตนเอง เป็นสิ่งที่ประชาชนทั่วโลกให้การสนใจกันอย่างมาก

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 Alexander Segall and Jay Goldstein (1998). "Exploring the Correlates of Self Provided Health Care Behaviour". ใน Coburn, David; D'Arcy, Alex; Torrance, George Murray (บ.ก.). Health and Canadian Society: Sociological Perspectives. University of Toronto Press. pp. 279–280. ISBN 0802080529. สืบค้นเมื่อ 29 August 2013.{{cite book}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  2. Chambers, Ruth; Gill Wakley; Alison Blenkinsopp (2006). Supporting Self Care in Primary Care. Radcliffe Publishing. pp. 15, 101, 105. ISBN 1846190703. สืบค้นเมื่อ 29 August 2013.
  3. Mertig, Rita G. (2012). Nurses' Guide to Teaching Diabetes Self-management. Springer Publishing Company. p. 240. ISBN 0826108288. สืบค้นเมื่อ 30 August 2013.
  4. Kollack, Ingrid (2006). "The Concept of Self Care". ใน Kim,, Hesook Suzie; Kollak, Ingrid (บ.ก.). Nursing Theories: Conceptual and Philosophical Foundations. Springer Publishing Company. p. 45. ISBN 0826140068. สืบค้นเมื่อ 31 August 2013.{{cite book}}: CS1 maint: extra punctuation (ลิงก์)
  5. 5.0 5.1 Bodenheimer, Thomas (2002-11-20). "PAtient self-management of chronic disease in primary care". JAMA. 288 (19): 2469–2475. doi:10.1001/jama.288.19.2469. ISSN 0098-7484.
  6. Taylor, Susan G.; Katherine Renpenning; Kathie McLaughlin Renpenning (2011). Self-care Science, Nursing Theory, and Evidence-based Practice. Springer Publishing Company. pp. 39–41. ISBN 0826107796. สืบค้นเมื่อ 25 August 2013.
  7. http://air4thai.pcd.go.th/webV2/
  8. "โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019". ddc.moph.go.th. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-01-24. สืบค้นเมื่อ 2021-01-21.