กายาโทสต์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กายาโทสต์
กายาโทสต์และกาแฟลาตเทเย็นของสตาร์บัคส์ ที่สิงคโปร์
ประเภทปิ้ง
มื้ออาหารหลัก
แหล่งกำเนิดสิงคโปร์[1]
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ผู้สร้างสรรค์พ่อครัวชาวไห่หนานในสมัยอาณานิคมช่องแคบ
อุณหภูมิเสิร์ฟร้อน
ส่วนผสมหลักกายา (สังขยา)
Glycemic index 49 (แม่แบบ:Background)

กายาโทสต์ (อังกฤษ: Kaya toast) เป็นอาหารประเภทขนมหรือของรับประทานเล่นชนิดหนึ่ง แพร่หลายในมาเลเซียและสิงคโปร์[2] เป็นขนมปังปิ้งทาสังขยาที่ทำจากใบเตย (ชาวสิงคโปร์เรียกสังขยาว่า "กายา") เป็นที่นิยมของชาวมาเลเซียและสิงคโปร์มานาน นิยมรับประทานเป็นอาหารเช้า พร้อมกับไข่ไก่ที่ต้มกึ่งสุกกึ่งดิบและเหยาะด้วยซีอิ๊วขาวเล็กน้อย รับประทานพร้อมชา, นม หรือกาแฟ[3][4][5]

โภชนาการ[แก้]

ส่วนสารอาหารหลัก[6]
อาหาร คาร์โบไฮเดรต (g/100g) ไขมัน (g/ส่วน) โปรตีน (g/ส่วน) พลังงานรวม (kJ/ส่วน)
กายาโทสต์ 46.0 17.6 7.3 1623

อ้างอิง[แก้]

  1. Planet, L. (2014). Food Lover's Guide to the World: Experience the Great Global Cuisines. Lonely Planet Food and Drink. Lonely Planet Publications. p. 236. ISBN 978-1-74360-581-3. สืบค้นเมื่อ 2 September 2021.
  2. "Kaya toast". The Hindu. March 10, 2012. สืบค้นเมื่อ April 11, 2017.
  3. พรพรรณ จันทโรนานนท์, ขนมสิงคโปร์ ตอนที่ ๑. "องค์ความรู้ภาษา-วัฒนธรรม", เดลินิวส์ ฉบับที่ 24,652: หน้า 24 การศึกษา, วันอังคารที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2560.
  4. Tarulevicz, NT; S, Hudd. "From Natural History to National Kitchen: Food In The Museums Of Singapore, 2006-2017". pp. 18–44. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-06-13. สืบค้นเมื่อ 2022-05-11.
  5. Chu, Louisa (20 April 2016). "Breakfast quest in Singapore: Looking for history on toast". Chicago Tribune. สืบค้นเมื่อ 29 November 2020.
  6. Sun L, Lee DE, Tan WJ, Ranawana DV, Quek YC, Goh HJ, Henry CJ (March 2015). "Glycaemic index and glycaemic load of selected popular foods consumed in Southeast Asia". Br J Nutr. 113 (5): 843–8. doi:10.1017/S0007114514004425. PMID 25716365.

บรรณานุกรม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]