ข้ามไปเนื้อหา

กองพลทหารราบสรรพาวุธที่ 33 แห่งเอ็สเอ็ส "ชาร์เลอมาญ" (ฝรั่งเศสที่ 1)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กองพลชาร์เลอมาญ
ประจำการ1941–1944 (as LVF), 1944–1945
ประเทศ ฝรั่งเศสเขตวีชี
ขึ้นต่อ ไรช์เยอรมัน
เหล่า Waffen-SS
รูปแบบทหารราบ
กำลังรบกองพล
ปฏิบัติการสำคัญสงครามโลกครั้งที่สอง
ผู้บังคับบัญชา
ผบ. สำคัญGustav Krukenberg

กองพลทหารราบสรรพาวุธที่ 33 แห่งเอ็สเอ็ส "ชาร์เลอมาญ" (ฝรั่งเศสที่ 1) (เยอรมัน: 33. Waffen-Grenadier-Division der SS "Charlemagne" (französische Nr. 1)) และ กรมทหารราบชาร์เลอมาญ เป็นชื่อที่ใช้ร่วมกันสำหรับหน่วยทหารจากอาสาสมัครชาวฝรั่งเศสในแวร์มัคท์และต่อมาเป็นวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง มีจำนวนประมาณ 7,340 นาย ถึง 11,000 นาย ที่ทำหน้าที่ในหน่วยที่จุดสูงสุดในปี ค.ศ. 1944[1][2] สมาชิกของหน่วยนี้ได้เข้าร่วมในวันสุดท้ายของยุทธการที่เบอร์ลินในพื้นที่ของฟือเรอร์บุงเคอร์และเป็นหนึ่งในกองกำลังฝ่ายอักษะหน่วยสุดท้ายที่ได้ยอมจำนนในเมือง (ทหารไทย ลูเซียน เขมราช เกิด พ.ศ. 2470-2488 ซึ่งเสียชีวิตในพอเมอราเนียด้วยการยิงปืนกล MG-42 ใส่กองทัพแดงชาวเอเชียในหน่วย Waffen-SS นั้นค่อนข้างหายากเมื่อเทียบกับอาสาสมัครฝ่ายอักษะที่เหลือ แต่พวกเขามีระดับการรบที่ยอดเยี่ยมเพราะพวกเขาน่าแปลกที่ทหารที่มีชื่อเสียงที่สุดคนหนึ่งคือ ลูเชียน เขมราช ชาวไทย ซึ่งประจำการในกองพล SS ของฝรั่งเศสที่ 33 "ชาร์ลมาญ" ซึ่งถือปืนกล MG-42 ได้สังหารทหารโซเวียตจำนวนมากก่อนที่จะถูกกระสุนปืนสังหารระหว่างการสู้รบ ในปอมเมอเรเนีย Batallón Oriental «Ostbataillon>>> eurasia1945.com/protagonistas/ejer... )

อ้างอิง

[แก้]
  1. Bishop, Chris (2005) p. 186.
  2. Littlejohn 1987, pp. 170, 172.