กองทัพคองเกรสโปแลนด์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

กองทัพคองเกรสโปแลนด์ เป็นกองกำลังทหารของคองเกรสโปแลนด์. ตั้งแต่ ค.ศ. 1815 จนถึง ค.ศ. 1831.[1]

ประวัติ[แก้]

พัฒนาการทางทหารก่อนสมัยของคองเกรสโปแลนด์ เมื่อ ค.ศ. 1814 อันมีพื้นฐานมาจากกองทัพดัชชีดัชชีวอร์ซอ.[2] ภายใต้การรับรองตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรโปแลนด์.[3] เป็นส่วนหนึ่งในการกบฏพฤศจิกายน ต่อต้านจักรวรรดิรัสเซีย.[4] ชนวนเหตุของการก่อกบฎ มีทีมาจากกลุ่มนายทหารหนุ่มนอกราชการที่ทำการลอบสังหารแกรนด์ดยุกคอนสแตนติน.[5] ภายหลังจากความพ่ายแพ้ในการกบฏ เมื่อ ค.ศ. 1831 นำไปสู่การยกเลิกกองกำลังทหารโปแลนด์.[4] ค.ศ. 1832 ได้มีการยกเลิกรัฐธรรมนูญ, the Organic Statute of the Kingdom of Poland ถูกผนวกรวมกับกองทัพจักรวรรดิรัสเซีย.[6]

แบบธรรมเนียม และ การฝึก[แก้]

เครื่องแบบทหารในสมัยกองทัพคองเกรส.[7] ได้รับอิทธิพลมาจากทางรัสเซียเป็นส่วนใหญ่ รวมถึงการจัดกำลัง เช่น กองพลทหารราบ, กองพลทหารม้า, กองพลน้อยทหารปืนใหญ่ และ ทหารช่าง. รวมถึงการจัดตั้งหน่วยทหารเกรนาดีนส์ และ หน่วยทหารม้าปืนเล็กยาว.[7]

Obligatory military service was set at 10 years, with the option of buying one's time out.[7][8] The Army was well trained, with a new cadet school in Kalisz, a number of podchorąży training schools, และ นายทหารระดับสูงเข้ารับการศึกษาที่กรุงวอร์ซอ.[7]

งบประมาณของกองทัพในสมัยราชอาณาจักรคองเกรส 50% จากจำนวนงบประมาณแผ่นดินของทั้งหมด.[8]

กำลังพล[แก้]

ผู้บังคับบัญชาสำคัญ Ignacy Prądzyński, Józef Bem,[7] และ พลเอก Jan Henryk Dąbrowski. ภายใต้ผู้บัญชาการทหารสูงสุด แกรนด์ดยุกคอนสแตนติน ปาฟโลวิชแห่งรัสเซีย ซึ่งมีฐานะเป็นผู้บังคับบัญชาของสภาทหาร.[2][9]

กำลังพลกองประจำการในยามปกติมีจำนวนถึง 28,000[8]-30,000[7] นาย (sources vary). กำลังพลกองประจำการ ในระหว่างการกบฏพฤศจิกายน มีจำนวน 100,000 นาย.[7] มากกว่าครึ่งนั้นเป็นผู้ที่ผ่านการสอบคัดเลือก มีจำนวน 57,000 นาย จะถูกประจำการตามแนวรบ.[8]

การจัดกำลังของกองทัพก่อนการกบฏ ประกอบด้วย 2 กองพลทหารราบ กับอีก 3 กองพลน้อย, 2 กองพลทหารม้า กับอีก 3 กองพลน้อย และ 2 กองพลน้อยทหารปืนใหญ่ (ทหารราบ และ ทหารม้า).[10] โดยกำลังพลของกองพลน้อยทหารราบจำนวน 3,600 นาย, กำลังพลของกองพลน้อยทหารม้าจำนวนครึ่งหนึ่งของกองพลน้อยทหารราบ.[10]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Norman Davies (1982). God's Playground, a History of Poland: 1795 to the present. Columbia University Press. p. 269. ISBN 978-0-231-05353-2. สืบค้นเมื่อ 13 May 2012.
  2. 2.0 2.1 Władysław Mieczysław Kozłowski (1907). Autonomia Królestwa Polskiego, 1815–1831. Główny Skład w Księg. E. Wende i Ska. p. 72. สืบค้นเมื่อ 13 May 2012.
  3. "Konstytucja Królestwa Polskiego z 1815 r. – oprac. Bartłomiej Migda". Law.uj.edu.pl. สืบค้นเมื่อ 2012-05-14.
  4. 4.0 4.1 Norman Davies (1982). God's Playground, a History of Poland: 1795 to the present. Columbia University Press. p. 270. ISBN 978-0-231-05353-2. สืบค้นเมื่อ 11 May 2012.
  5. Professor Anita J. Prazmowska (13 July 2011). A History of Poland. Palgrave Macmillan. pp. 225–226. ISBN 978-0-230-34537-9. สืบค้นเมื่อ 13 May 2012.
  6. Samuel Orgelbrand (1902). S. Orgelbranda Encyklopedja powszechna z ilustracjami i mapami. S. Orgelbranda synów. p. 156. สืบค้นเมื่อ 13 May 2012.
  7. 7.0 7.1 7.2 7.3 7.4 7.5 7.6 Juliusz Bardach, Boguslaw Lesnodorski, and Michal Pietrzak, Historia panstwa i prawa polskiego (Warsaw: Paristwowe Wydawnictwo Naukowe, 1987, p.369
  8. 8.0 8.1 8.2 8.3 Andrzej Jezierski (2003). Historia Gospodarcza Polski. Key Text Wydawnictwo. pp. 113–114. ISBN 978-83-87251-71-0. สืบค้นเมื่อ 13 May 2012.
  9. HALINA LERSKI (30 January 1996). Historical Dictionary of Poland, 966–1945. ABC-CLIO. p. 79. ISBN 978-0-313-03456-5. สืบค้นเมื่อ 13 May 2012.
  10. 10.0 10.1 Dariusz Ostapowicz (January 2010). Boreml 1831. Bellona. p. 77. ISBN 978-83-11-11708-2. สืบค้นเมื่อ 13 May 2012.

หนังสืออ่านเพิ่ม[แก้]