ฉบับร่าง:กลุ่มมิจฉาชีพทางโทรศัพท์
นี่คือบทความฉบับร่างซึ่งเปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถแก้ไขได้ โปรดตรวจสอบว่าเนื้อหามีลักษณะเป็นสารานุกรมและมีความโดดเด่นควรแก่การรู้จักก่อนที่จะเผยแพร่เป็นบทความลงในวิกิพีเดีย กรุณาอดทนรอผู้เขียนคนอื่นมาช่วยตรวจให้ อย่าย้ายหน้าไปเป็นบทความเองโดยพลการ ค้นหาข้อมูล: Google (books · news · newspapers · scholar · free images · WP refs) · FENS · JSTOR · NYT · TWL สำคัญ: ถ้าลบป้ายนี้ออกจะทำให้บันทึกหน้าไม่ได้ ผู้แก้ไขหน้านี้คนล่าสุด คือ วรุฒ หิ่มสาใจ (พูดคุย | เรื่องที่เขียน) เมื่อ 42 วันก่อน (ล้างแคช)
ฉบับร่างนี้ถูกส่งสำหรับการทบทวนแล้วและกำลังรอการทบทวน |
กลุ่มมิจฉาชีพทางโทรศัพท์ หรือ แก๊งคอลเซ็นเตอร์ คือ กลุ่มมิจฉาชีพที่ทำการหลอกลวงผ่านทางโทรศัพท์ โดยส่วนมากกลุ่มมิจฉาชีพเหล่านี้มักจะมาในรูปแบบการแอบอ้างว่าเป็น บริษัท รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานราชการ หรือ ตำรวจ [1]
รูปแบบการหลอกลวง
[แก้]กลุ่มมิจฉาชีพทางโทรศัพท์นั่น มักจะหลอกลวงผ่านการแอบอ้างว่าเป็น บริษัทต่างๆ ธนาคาร ผู้ให้บริการเครือข่าย บริษัทส่งพัสดุ หรือ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานราชการ ตำรวจ ตัวอย่างการหลอกลวงเช่น การแอบอ้างว่าเป็นบริษัทรับส่งพัสดุแล้วบอกว่ามีสิ่งของผิกฎหมายมาส่ง หรือ การแอบอ้างว่าเป็นตำรวจหรือสถานีตำรวจแล้วบอกว่ามีคดีหรือไปทำผิดกฎหมายต่างๆ โดยการแอบอ้างนั้นเพื่อการหลอกลวงเรียกรับสินบน หรือ ค่าปรับ จากผู้ที่หลงเชื่อผ่านการโอนเงินมาให้มิจฉาชีพที่แอบอ้างเพราะคิดว่าเป็นตำรวจจริงๆ หรือการแอบอ้างว่าเป็นหน่วยงานกรมศุลกากรแล้วบอกว่าต้องมีการชำระภาษี เพื่อให้ผู้ที่หลงเชื่อนั้นโอนเงินมาให้มิจฉาชีพที่แอบอ้างเพราะคิดว่าเป็นหน่วยงานกรมศุลกากรจริงๆ หรือการแอบอ้างว่าเป็นธนาคารแล้วบอกว่าบัญชีธนาคารของคุณถูกอายัดเนื่องจากเข้าข่ายการฟอกเงินหรือบอกว่าคุณมีหนี้ค้างชำระบัตรเครดิต เพื่อให้ผู้ที่หลงเชื่อนั้นโอนเงินให้มิจฉาชีพ [2]
วิธีสังเกตุ
[แก้]สังเกตุจากเบอร์โทรศัพท์
[แก้]วิธีสังเกตกลุ่มมิจฉาชีพทางโทรศัพท์นั้น โดยส่วนมากกลุ่มมิจฉาชีพมักจะใช้เบอร์โทรศัพท์จากต่างประเทศในการติดต่อ โดยหมายเลขโทรศัพท์จากต่างประเทศนั้นมักจะขึ้นต้นด้วย +88, +87, +697, +598 หรือเป็นตัวเลขแปลกๆอื่นๆ ที่ไม่ใช่ +66xxxxxxxxx 0xxxxxxxxx [3]
อ้างอิง
[แก้]โปรดรอสักครู่
หน้านี้อาจใช้ระยะเวลานานถึงหนึ่งสัปดาห์ เนื่องจากฉบับร่างจะได้รับการทบทวนตามลำดับ ขณะนี้มี 134 หน้าที่กำลังรอการทบทวน
ขอความช่วยเหลือ
วิธีปรับปรุงบทความของคุณ
คุณยังสามารถดู วิกิพีเดีย:บทความคัดสรร และ วิกิพีเดีย:บทความคุณภาพ เพื่อค้นหาตัวอย่างบทความที่ดีที่สุดของวิกิพีเดียในหัวข้อที่คล้ายกับบทความที่คุณแจ้งทบทวน ทรัพยากรการแก้ไข
เครื่องมือตรวจสอบ
|