จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
หมู่ค่ายปรับทัศนคติซินเจียง ค่ายกักกัน , ค่ายปลูกฝังค่านิยม, ค่ายสร้างการศึกษาใหม่ผู้ถูกกักกันกำลังเข้าร่วมฟังสุนทรพจน์ในค่ายแห่งหนึ่งที่
Lop County , ซินเจียง เมื่อเมษายน 2017
[ 1] [ 2] ชื่ออื่น ศูนย์อาชีวศึกษาและฝึกอบรมอาชีพ ที่ตั้ง ซินเจียง ประเทศจีนสร้างโดย พรรคคอมมิวนิสต์จีน ดำเนินการโดย คณะกรรมการพรรคและรัฐบาลซินเจียง เปิดใช้งาน เปิดเมื่อ 2017[ 3] จำนวนผู้ถูกกักกัน มากถึง 1.5 ล้าน (การประมาณในปี 2019 โดย เซินซ์ )[ 4]
1 ล้าน – 3 ล้าน ในเวลาหลายปี (การประมาณในปี 2019 โดย Schriver )[ 5] [ 6]
มากกว่า ~497,000 คนในโรงเรียนประจำพิเศษของรัฐ (จากเอกสารทางการที่ประมาณการในปี 2017)[ 7]
กลุ่มค่ายปรับทัศนคติซินเจียง [ 9] (อังกฤษ : Xinjiang re-education camps ) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ศูนย์อาชีวศึกษาและฝึกอบรมอาชีพ (อังกฤษ : Vocational Education and Training Centers ) โดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน (Communist Party of China; CPC) และรัฐบาล ของประเทศจีน [ 10] [ 11] [ 12] เป็นกลุ่มของค่ายกักกัน ที่ดำเนินการโดยรัฐบาลเขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ และคณะกรรมการพรรคประจำมณฑล โดยมีเป้าหมายเพื่อการปลูกฝังค่านิยมใหม่ (indoctrinating) ให้กับชาวอุยกูร์ และชาวมุสลิมอื่น ๆ นับตั้งแต่ปี 2017[ 3] เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของ "สงครามของประชาชน ต่อการก่อการร้าย" ที่ประกาศในปี 2014[ 13] [ 14] ค่ายกักกันเหล่านี้ตั้งขึ้นโดยรัฐบาล ของเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์จีน สี จิ้นผิง [ 14] [ 15] และนำโดยเลขาธิการคณะกรรมการพรรค เฉิน หวงกั๋ว ค่ายกักกันเหล่านี้มีการรายวานว่าบริหารงานไปโดยอยู่นอกเหนือกฎหมายของจีน ; ชาวอุยกูร์จำนวนมากถูกกักกันในค่ายโดยไม่มีหมายเรียก และไม่ได้มีการกระทำขัดต่อกฎหมายใด ๆ[ 16] [ 17] [ 18] เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นมีรายงานว่ามีการกักตัวชาวอุยกูร์หลายร้อยหลายพันคนในค่ายกักกันเหล่านี้ เช่นเดียวกับบุคคลที่เป็นชนกลุ่มน้อยทางชาติพันธุ์อื่น ๆ เพื่อเป้าหมายที่ระบุว่าเป็นการจัดการกับแนวคิดสุดขั้ว และการก่อการร้าย และเพื่อเป็นการสนับสนุนการทำให้เป็นจีน (Sinicization)[ 19] [ 20] [ 21] [ 22] .[ 23] [ 24]
ข้อมูลเมื่อ 2018[update] มีการประมาณว่าเจ้าหน้าที่ทางการของจีนอาจมีการควบคุมตัวบุคคลกว่าหลายร้อย หลายพัน หรืออาจถึงหนึ่งล้านคนที่เป็นชาวอุยกูร์ คาซัก คีร์กีซ และชาวเติร์กมุสลิม อื่น ๆ, คริสต์ชน รวมถึงพลเมืองต่างชาติอื่น ๆ เช่นชาวคาซักสถาน ถูกกักตัวอยู่ภายในค่ายกักกันลับ ๆ ที่ตั้งอยู่กระจายไปทั่วทั้งภูมิภาค[ 25] [ 26] [ 27] [ 28] [ 29] [ 30]
↑ "Knocking the door of the mind with emotion, use reasons to ease the mood of the people" . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 20 August 2018. สืบค้นเมื่อ 14 April 2017 .
↑ "The Repression of Uyghurs Is Now an All-Out War Against a People" . thediplomat.com . สืบค้นเมื่อ 24 August 2018 .
↑ 3.0 3.1 "China: Free Xinjiang 'Political Education' Detainees" . Human Rights Watch. สืบค้นเมื่อ 10 September 2017 .
↑ Zenz, Adrian . "Brainwashing, Police Guards and Coercive Internment: Evidence from Chinese Government Documents about the Nature and Extent of Xinjiang's "Vocational Training Internment Camps" " . Journal of Political Risk . 7 (7). สืบค้นเมื่อ 1 July 2019 .
↑ Stewart, Phil (4 May 2019). "China putting minority Muslims in 'concentration camps,' U.S. says" . Reuters . สืบค้นเมื่อ 17 September 2019 .
↑ Rappeport, Alan; Wong, Edward (4 May 2018). "In Push for Trade Deal, Trump Administration Shelves Sanctions Over China's Crackdown on Uighurs" . The New York Times . สืบค้นเมื่อ 17 September 2019 .
↑ Qin, Amy. "In China's Crackdown on Muslims, Children Have Not Been Spared" . nytimes.com . สืบค้นเมื่อ 30 December 2019 .
↑ 董立文(Tung, Li-Wen) (October 2018). 「再教育營」再現中共新疆 工作的矛盾 [The Reprise of the Contradiction of CCP’s Work in Xinjiang Due to “Re-education Camps”] (PDF) . 發展與探索 Prospect & Exploration (ภาษาจีนกลางสำเนียงไต้หวัน) (10 ed.). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 2019-12-18. สืบค้นเมื่อ 18 December 2019 .
↑ จากการแปลโดยบีบีซีไทย เข้าถึงได้จาก https://www.bbc.com/thai/resources/idt-sh/China_hidden_camps_thai
↑ 新疆的反恐、去极端化斗争与人权保障 . Xinhuanet.com. 18 March 2019. สืบค้นเมื่อ 20 July 2019 .
↑ shilei. "Archived copy" 新疆维吾尔自治区去极端化条例 . Xjpcsc.gov.cn. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 31 March 2019. สืบค้นเมื่อ 20 July 2019 . {{cite web }}
: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์ )
↑ "Full Text: Vocational Education and Training in Xinjiang" . Xinhua . Beijing. 16 August 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 2019-08-16. สืบค้นเมื่อ 17 September 2019 .
↑ "A Summer Vacation in China's Muslim Gulag" . Foreign Policy . 28 February 2018. สืบค้นเมื่อ 28 February 2018 .
↑ 14.0 14.1 Ramzy, Austin; Buckley, Chris (16 November 2019). " 'Absolutely No Mercy': Leaked Files Expose How China Organized Mass Detentions of Muslims" . The New York Times . ISSN 0362-4331 . สืบค้นเมื่อ 16 November 2019 .
↑ Kate O’Keeffe and Katy Stech Ferek (14 November 2019). "Stop Calling China's Xi Jinping 'President,' U.S. Panel Says" . The Wall Street Journal .
↑ "Arrests skyrocketed in China's Muslim far west in 2017" . France24 . AFP. 25 July 2018. สืบค้นเมื่อ 15 September 2019 .
↑ " 'Permanent cure': Inside the re-education camps China is using to brainwash Muslims" . Business Insider . สืบค้นเมื่อ 17 May 2018 .
↑ "China: Big Data Fuels Crackdown in Minority Region" . Human Rights Watch. สืบค้นเมื่อ 26 February 2018 .
↑ "China detains thousands of Muslims in re-education camps" . ucanews.com . สืบค้นเมื่อ 13 September 2017 .
↑ "High Numbers of Uyghurs Targeted for Re-Education Camps" . Voice of America. สืบค้นเมื่อ 10 October 2017 .
↑ Michael, Clarke (25 May 2018). "Xinjiang's "transformation through education" camps" . The Interpreter . Lowy Institute. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 2019-12-03. สืบค้นเมื่อ 25 May 2018 .
↑ "Why are Muslim Uyghurs being sent to 're-education' camps" . Al Jazeera. 8 June 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 2019-04-02. สืบค้นเมื่อ 11 June 2018 .
↑ Stroup, David R. (19 November 2019). "Why Xi Jinping's Xinjiang policy is a major change in China's ethnic politics" . The Washington Post . สืบค้นเมื่อ 24 November 2019 .
↑ Thum, Rian; Harris, Rachel; Leibold, James; Batke, Jessica; Carrico, Kevin; Roberts, Sean R. (4 June 2018). "How Should the World Respond to Intensifying Repression in Xinjiang?" . ChinaFile . Center on U.S.-China Relations at Asia Society . สืบค้นเมื่อ 4 June 2018 .
↑ "Rights groups criticise sharp rise in arrests in China's Xinjiang province" . The Irish Times . สืบค้นเมื่อ 26 July 2018 .
↑ "China's reeducation camps for Muslims are beginning to look like concentration camps" . Vox . 24 October 2018.
↑ "China steps up surveillance on Xinjiang Muslims" . Financial Times . สืบค้นเมื่อ 18 July 2018 .
↑ "Thousands of Uyghur Muslims detained in Chinese 'political education' camps" . CNN. สืบค้นเมื่อ 3 February 2018 .
↑ "100 Christians sent to 're-education' camps in Xinjiang" . Business Insider . สืบค้นเมื่อ 15 May 2018 .
↑ Shih, Gerry; Kang, Dake (18 May 2018). "Muslims forced to drink alcohol and eat pork in China's're-education'camps, former inmate claims" . The Independent . สืบค้นเมื่อ 18 May 2018 .