กลวิธีวัจนลีลา
กลวิธีวัจนลีลา (อังกฤษ: Stylistic device) หรือ ภาพพจน์ คือ ถ้อยคำที่เป็นสำนวนโวหารทำให้นึกถึงความหมาย มโนภาพ หรือเห็นเป็นภาพที่นอกเหนือจากสิ่งที่เขียนลงไป หรือถ้อยคำที่เรียบเรียงอย่างมีชั้นเชิงเป็นโวหาร มีเจตนาให้มีประสิทธิผลต่อความคิด ความเข้าใจ ให้จินตนาการและถ่ายทอดอารมณ์ได้อย่างกว้างขวางลึกซึ้งกว่าการบอกเล่าที่ตรงไปตรงมา[1]
ประเภท[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ภาพพจน์[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
- อุปมา (simile)
- อุปมานิทัศน์ (allegory) : การยกเรื่องราวขึ้นอุปมาเพื่ออธิบายคุณลักษณะสำคัญของสิ่งนั้น ๆ
- การสัมผัสอักษร (alliteration) : การสัมผัสพยัญชนะที่มีพยัญชนะต้นตัวเดียวกันหรือเสียงพ้องกัน เช่น จำใจจำจากเจ้า จำจร (ลิลิตตะเลงพ่าย)
- การอ้างถึง/ปฏิรูปพจน์ (allusion) : การอ้างถึงผลงานอื่นทางอ้อม
- การถามประชุมชน (anacoenosis) : การตั้งคำถามต่อที่ประชุมชน มักเป็นเรื่องที่ทั้งผู้พูดและผู้ฟังสนใจอย่างเดียวกัน
- การเล่นคำซ้ำ (antanaclasis) : เป็นการเล่นคำประเภท โดยการซ้ำคำโดยให้ความรู้สึกที่แตกต่างกันสองความรู้สึก
- การแทนประเภทคำ (anthimeria) : การแทนที่คำประเภทหนึ่งด้วยคำประเภทหนึ่ง เช่น จากคำนามเป็นคำกริยา
- มานุษยรูปนิยม (anthropomorphism) : การใช้สิ่งที่มิใช่ของมนุษย์มาพรรณารูปลักษณ์ของมนุษย์ เช่น ใช้สัตว์ หรือใช้เทพ (ดู สัตวรูปนิยม ประกอบ)
- ปฏิไวยากรณ์ (antimetabole) : การซ้ำคำที่เป็นประโยคต่อเนื่องกัน แต่มีการสลับตำแหน่งไวยากรณฺ์
- ปฏิวลี (antiphrasis) : การใช้คำให้มีความหมายแตกต่างไปจากความหมายปรกติของคำนั้น มักเป็นไปในเชิงเสียดสีล้อเลียน
- สมญานาม (antonomasia) : การแทนที่คำหรือวลีด้วยชื่ออันเป็นที่รู้จักหรือมีความหมายในทางกลับกัน
- คำพังเพย (aphorism) : การใช้คำกะทัดรัดซึ่งมีความหมายเกี่ยวกับข้อเท็จจริง ความคิดเห็น หรืออุดมคติ, ภาษิต (adage) ก็เรียก
- อติพจน์ (hyperbole)
- อวพจน์ (meiosis, understatement)
- อุปลักษณ์ (metaphor)
- สัมพจนัย (synecdoche)
- ปฏิพากย์ (paradox)/ ปฏิพจน์ (oxymoron)
- บุคคลวัต/บุคลาธิษฐาน (personification)
- นามนัย (metonymy)
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การเล่นคำ[แก้]
(อังกฤษ: Sounding techniques)
- สัทพจน์ (onomatopoeia)
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
เชิงอรรถ[แก้]
- ↑ ราชบัณฑิตยสถาน, 2551 : ออนไลน์.
อ้างอิง[แก้]
- ราชบัณฑิตยสถาน. (2551, 7 กุมภาพันธ์). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: <http://rirs3.royin.go.th/dictionary.asp เก็บถาวร 2009-03-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน>. (เข้าถึงเมื่อ: 19 มีนาคม 2552).
- อาริสโตเติล, The Art of Rhetoric, (Translated by J. H. Freese), Loeb Classical Library.
- Baldwin, Charles Sears, Ancient Rhetoric and Poetic: Interpreted from Representative Works, Peter Smith, Gloucester, 1959 (reprint).
- Rhetorica ad Herennium, (Translated by Henry Caplan) Loeb Classical Library, Harvard University Press, 1954.
- Corbett, Edward P.J., Classical Rhetoric for the Modern Student Oxford University Press, New York, 1971.
- Kennedy, George, Art of Persuasion in Greece. Princeton Univ Press, 1969 (4th printing).
- Lanham, Richard A., A Handlist of Rhetorical Terms, Berkeley, University of California Press, 1991.
- Mackin, John H. Classical Rhetoric for Modern Discourse, Free Press, New York, 1969.
- Quintilian. Institutio oratoria, (In five volumes, trans. Donald A. Russell) Loeb Classical Library, 2002.
- The Use of Figures of Speech in Print Ad Headlines, by James H. Leigh © 1994 M.E. Sharpe, Inc..
- PAUL DREW and ELIZABETH HOLT Figures of speech: Figurative expressions and the management of topic transition in conversation เก็บถาวร 2016-03-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Language in Society (1998), 27:495-522 Cambridge doi:10.1017/S0047404598004035 University Press
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
- A Glossary of Rhetorical Terms with Examples from the University of Kentucky
- A Guide to Rhetorical Ideas from Silva Rhetoricae
- Figures of Speech from Paul Niquette
- Figures of Speech เก็บถาวร 2014-06-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน from Silva Rhetoricae
- It Figures - Figures of Speech from Jay Heinrichs
- Stylistic Devices on English Grammar Online from Lingo4you GbR
- Introducing Philosophy 21: Rhetoric เก็บถาวร 2013-01-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน from Paul Newall (2005)