กรีฑาชิงแชมป์โลก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กรีฑาชิงแชมป์โลก
กีฬากรีฑา
ก่อตั้งค.ศ. 1983
ทวีประหว่างประเทศ (IAAF)

กรีฑาชิงแชมป์โลก (อังกฤษ: IAAF World Championships in Athletics) เป็นการแข่งขันกรีฑาระหว่างประเทศในกลุ่มสมาชิกกรีฑาโลก (ไอเอเอเอฟ) การแข่งขันจัดขึ้นทุก ๆ 2 ปี เริ่มครั้งแรกในปี ค.ศ. 1983 ใน กรีฑาชิงแชมป์โลก 1983

สรุปการแข่งขัน[แก้]

ครั้งที่ ค.ศ. เมืองเจ้าภาพ วันที่ สถานที่ ชาติเข้าร่วม นักกีฬา (คน)
1 1983 เฮลซิงกิ  ฟินแลนด์ 7–14 สิงหาคม สนามกีฬาโอลิมปิก 153 1,333
2 1987 โรม  อิตาลี 28 สิงหาคม – 6 กันยายน สตาดีโอโอลิมปีโก 156 1,419
3 1991 โตเกียว  ญี่ปุ่น 23 สิงหาคม – 1 กันยายน สนามกีฬาโอลิมปิกแห่งชาติ 162 1,491
4 1993 ชตุทท์การ์ท  เยอรมนี 13–22 สิงหาคม ก็อตต์ลีฟเดมเลอสตาดีโยน 187 1,630
5 1995 กอเทนเบิร์ก  สวีเดน 5–13 สิงหาคม อุลเลวี 190 1,755
6 1997 เอเธนส์  กรีซ 1–10 สิงหาคม สนามกีฬาโอลิมปิก 197 1,785
7 1999 เซบิยา  สเปน 20–29 สิงหาคม สนามกีฬากาตูจา 200 1,750
8 2001 เอดมันตัน  แคนาดา 3–12 สิงหาคม สนามกีฬาเครือจักรภพ 189 1,677
9 2003 แซ็ง-เดอนี  ฝรั่งเศส 23–31 สิงหาคม สตาดเดอฟร็องส์ 198 1,679
10 2005 เฮลซิงกิ  ฟินแลนด์ 6–14 สิงหาคม สนามกีฬาโอลิมปิก 191 1,688
11 2007 โอซะกะ  ญี่ปุ่น 24 สิงหาคม – 2 กันยายน สนามกีฬานะงะอิ 197 1,800
12 2009 เบอร์ลิน  เยอรมนี 15–23 สิงหาคม โอลึมเพียชตาดิโยน 200 1,895
13 2011 แทกู  เกาหลีใต้ 27 สิงหาคม – 4 กันยายน แทกูสเตเดียม 199 1,742
14 2013 มอสโก  รัสเซีย 10–18 สิงหาคม สนามกีฬาลุจนีกี 203 1,784
15 2015 ปักกิ่ง  จีน 22–30 สิงหาคม สนามกีฬาแห่งชาติปักกิ่ง 205 1,771
16 2017 ลอนดอน  สหราชอาณาจักร 5–13 สิงหาคม สนามกีฬาโอลิมปิก 205 2,036
17 2019 โดฮา  กาตาร์ 28 กันยายน – 6 ตุลาคม สนามกีฬาแห่งชาติคาลิฟา
18 2021 ยูจีน  สหรัฐ สนามเฮย์เวิร์ด

สรุปตารางเหรียญตั้งแต่ปี ค.ศ. 1983[แก้]

อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1  สหรัฐ 144 94 81 319
2  รัสเซีย 54 61 55 170
3  เคนยา 50 43 35 128
4  เยอรมนี 35 31 41 107
5  จาเมกา 31 44 35 110
6  บริเตนใหญ่ 25 30 34 89
7  เอธิโอเปีย 25 22 25 72
8  สหภาพโซเวียต 22 27 28 77
9  คิวบา 21 23 12 56
10  เยอรมนีตะวันออก 20 18 15 53
11  โปแลนด์ 15 11 17 43
12  เช็กเกีย 13 5 4 22
13  จีน 11 18 15 44
14  อิตาลี 11 15 13 39
15  เบลารุส 11 14 11 36
16  ยูเครน 11 10 13 34
17  ฝรั่งเศส 10 17 19 46
18  ออสเตรเลีย 10 11 12 33
19  โมร็อกโก 10 11 7 28
20  สเปน 8 15 16 39
21  แอฟริกาใต้ 8 6 7 21
22  สวีเดน 8 3 5 16
23  ฟินแลนด์ 7 8 6 21
24  บาฮามาส 7 7 7 21
25  แคนาดา 6 13 12 31
26  นอร์เวย์ 6 5 2 13
27  แอลจีเรีย 6 0 3 9
28  โรมาเนีย 5 8 10 23
29  โปรตุเกส 5 6 6 17
30  บัลแกเรีย 5 3 8 16
31  บาห์เรน 5 1 2 8
32  นิวซีแลนด์ 5 0 1 6
33  ญี่ปุ่น 4 6 13 23
34  กรีซ 4 6 11 21
35  เชโกสโลวาเกีย 4 4 3 11
36  สวิตเซอร์แลนด์ 4 0 3 7
37  โครเอเชีย 3 3 0 6
37  ไอร์แลนด์ 3 3 0 6
39  เม็กซิโก 3 1 8 12
40  โมซัมบิก 3 1 1 5
41  เอกวาดอร์ 3 1 0 4
42  เดนมาร์ก 3 0 1 4
43  เยอรมนีตะวันตก 2 6 3 11
44  เนเธอร์แลนด์ 2 5 6 13
44  ตรินิแดดและโตเบโก 2 5 6 13
46  เอสโตเนีย 2 4 2 8
47  ลิทัวเนีย 2 2 1 5
47  กาตาร์ 2 2 1 5
49  ยูกันดา 2 1 2 5
50  สาธารณรัฐโดมินิกัน 2 1 1 4
51  ทาจิกิสถาน 2 1 0 3
52  โคลอมเบีย 2 0 2 4
53  บราซิล 1 6 5 12
54  นามิเบีย 1 4 0 5
55  แซมเบีย 1 2 0 3
56  สโลวีเนีย 1 1 2 4
57  บอตสวานา 1 1 0 2
57  เอริเทรีย 1 1 0 2
57  ปานามา 1 1 0 2
60  เซนต์คิตส์และเนวิส 1 0 4 5
61  สโลวาเกีย 1 0 3 4
62  กรีเนดา 1 0 1 2
62  เซเนกัล 1 0 1 2
62  โซมาเลีย 1 0 1 2
62  ซีเรีย 1 0 1 2
66  บาร์เบโดส 1 0 0 1
66  เกาหลีเหนือ 1 0 0 1
68  ฮังการี 0 6 5 11
69  ไนจีเรีย 0 4 4 8
70  คาซัคสถาน 0 3 4 7
71  จิบูตี 0 2 1 3
71  อิสราเอล 0 2 1 3
71  ตูนิเซีย 0 2 1 3
71  ตุรกี 0 2 1 3
75  โกตดิวัวร์ 0 2 0 2
75  แคเมอรูน 0 2 0 2
75  ปวยร์โตรีโก 0 2 0 2
78  เบลเยียม 0 1 4 5
79  ออสเตรีย 0 1 1 2
79  บุรุนดี 0 1 1 2
79  ไซปรัส 0 1 1 2
79  กานา 0 1 1 2
79  ศรีลังกา 0 1 1 2
79  ซูรินาม 0 1 1 2
85  เบอร์มิวดา 0 1 0 1
85  อียิปต์ 0 1 0 1
85  ซูดาน 0 1 0 1
85  แทนซาเนีย 0 1 0 1
89  เซอร์เบีย 0 0 3 3
90  ลัตเวีย 0 0 2 2
91  อเมริกันซามัว 0 0 1 1
91  บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา 0 0 1 1
91  หมู่เกาะเคย์แมน 0 0 1 1
91  ดอมินีกา 0 0 1 1
91  เฮติ 0 0 1 1
91  อินเดีย 0 0 1 1
91  อิหร่าน 0 0 1 1
91  ซาอุดีอาระเบีย 0 0 1 1
91  ซิมบับเว 0 0 1 1
รวม 679 686 68 0 2045

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]