กรดควินิก
หน้าตา
| |||
ชื่อ | |||
---|---|---|---|
IUPAC name
(1S,3R,4S,5R)-1,3,4,5-tetrahydroxycyclohexanecarboxylic acid
| |||
เลขทะเบียน | |||
3D model (JSmol)
|
|||
ChEBI | |||
ChEMBL | |||
เคมสไปเดอร์ | |||
ECHA InfoCard | 100.000.976 | ||
ผับเคม CID
|
|||
UNII | |||
CompTox Dashboard (EPA)
|
|||
| |||
| |||
คุณสมบัติ | |||
C7H12O6 | |||
มวลโมเลกุล | 192.17 g/mol | ||
ความหนาแน่น | 1.35 g/cm3 | ||
จุดหลอมเหลว | 168 องศาเซลเซียส (334 องศาฟาเรนไฮต์; 441 เคลวิน) | ||
ความอันตราย | |||
NFPA 704 (fire diamond) | |||
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
กรดควินิก (อังกฤษ: quinic acid) เป็นสารกลุ่มไซคลิทอลและกรดไซโคลเฮกเซนคาร์บอกซิลิก มีลักษณะเป็นผลึกไม่มีสี ละลายน้ำได้[1] พบในเปลือกพืชสกุล Cinchona (ซึ่งมีสารควินีน), เมล็ดกาแฟและเปลือกต้นโกฐจุฬารศ (Eucalyptus globulus) สามารถสังเคราะห์ได้จากกระบวนการไฮโดรไลซิสของกรดคลอโรจีนิก กรดควินิกเป็นส่วนประกอบหนึ่งของสารทาราแทนนิน มีส่วนในความเป็นกรดของกาแฟและใช้เป็นสารที่ให้รสฝาด
หลุยส์ นีกอลา โวเกอแล็ง นักเคมีชาวฝรั่งเศสสกัดกรดควินิกเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1806[2] ต่อมาในปี ค.ศ. 1863 เอดูอาร์ด เลาเทมันน์ นักเคมีชาวเยอรมันสังเคราะห์สารนี้ได้เป็นคนแรก
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Gilman, D. C.; Peck, H. T.; Colby, F. M., บ.ก. (1905). . New International Encyclopedia (1st ed.). New York: Dodd, Mead.
- ↑ L. N. Vauquelin (1806) "Expériences sur les diverses espèces de Quinquina" (Experiments on various species of Quinquina), Annales de Chimie, 59 : 113-169. Quinic acid is named on p. 167. From p. 167: "Concluons donc que cet acide est véritablement différent de tous ceux qui sont connus maintenant, et donnons-lui le nom d'acide kinique du mot quinquina, … " (Let us thus conclude that this acid is truly different from all those that are now known, and let us give it the name of quinic acid from the word quinquina, … )
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ กรดควินิก
- Quinic acid - MSDS - ExtraSynthese[ลิงก์เสีย]