ข้ามไปเนื้อหา

กบฏอาหรับ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กบฏอาหรับ
ส่วนหนึ่งของ เขตสงครามตะวันออกกลางในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
วันที่มิถุนายน ค.ศ. 1916 – ตุลาคม ค.ศ. 1918
สถานที่
ผล
ดินแดน
เปลี่ยนแปลง
การแบ่งแยกจักรวรรดิออตโตมัน
คู่สงคราม
แม่แบบ:Country data Arab Revolt ราชอาณาจักรฮิญาซ
 สหราชอาณาจักร
 ฝรั่งเศส
 จักรวรรดิออตโตมัน

 เยอรมนี
Jabal Shammar
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
แม่แบบ:Country data Arab Revolt ฮุซัยน์ บิน อาลี
แม่แบบ:Country data Arab Revolt ฟัยศ็อล บิน ฮุซัยน์
แม่แบบ:Country data Arab Revolt Abdullah bin Hussein
แม่แบบ:Country data Arab Revolt Ali bin Hussein
สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ Edmund Allenby
สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ ที. อี. ลอว์เรนซ์
สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 Édouard Brémond [fr]
จักรวรรดิออตโตมัน สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 5
จักรวรรดิออตโตมัน Djemal Pasha
จักรวรรดิออตโตมัน Fakhri Pasha
จักรวรรดิออตโตมัน Muhittin Akyüz

จักรวรรดิเยอรมัน Otto Liman von Sanders
Saud bin Abdulaziz
กำลัง
30,000 (June 1916)[1]
50,000+ (1918)[2]
May 1916:
6,500–7,000 troops[3]
September 1918:
25,000 troops
340 guns[1]
ความสูญเสีย
Unknown จักรวรรดิออตโตมัน 47,000+
5000 killed
10,000 wounded[4]
22,000+ captured[5][6][7]
~10,000 disease deaths

กบฏอาหรับ (อาหรับ: الثورة العربية, al-Thawra al-‘Arabiyya; ตุรกี: Arap İsyanı) หรือ กบฏมหาอาหรับ (الثورة العربية الكبرى, al-Thawra al-‘Arabiyya al-Kubrá) เป็นการก่อการกำเริบทางทหารของกองกำลังอาหรับต่อต้านจักรวรรดิออตโตมันในเขตสงครามตะวันออกกลางในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง มีเบื้องหลังมาจากจดหมายแม็กแมน–ฮุซัยน์ คือข้อตกลงระหว่างรัฐบาลบริติซและฮุซัยน์ บิน อาลี, ชารีฟแห่งแมคคา การก่อกบฏได้เริ่มต้นขึ้นอย่างเป็นทางการที่แมคคา เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน ค.ศ. 1916 เป้าหมายของกลุ่มกบฏคือการก่อตั้งรัฐอาหรับที่เป็นเอกราชและรวมเป็นปึกแผ่นเพียงหนึ่งเดียวที่ทอดยาวจากเมืองอะเลปโปในซีเรียไปจนถึงเอเดนในเยเมน ซึ่งบริติชได้ให้คำมั่นสัญญาว่าจะให้การยอมรับ

กองทัพชาริเฟียนภายใต้การนำโดยฮุสเซนและตระกูลฮัชไมต์ กับการสนับสนุนทางทหารจากกองกำลังรบนอกประเทศอียิปตป์ของบริติซ การต่อสู้รบที่ประสบความสำเร็จและขับไล่ทหารออตโตมันออกจากฮิญาซและทรานส์จอร์แดน ในท้ายที่สุด กลุ่มกบฏสามารถเข้ายึดครองเมืองดามัสกัสและก่อตั้งราชวงศ์ที่มีอายุสั้นภายใต้การนำโดยฟัยศ็อล โอรสของฮุซัยน์

ภายหลังความตกลงไซก์-ปิโกต์ ตะวันออกกลางในเวลาต่อมาก็ถูกบริติชและฝรั่งเศสแบ่งออกเป็นดินแดนในอาณัติแทนที่จะเป็นรัฐอาหรับที่เป็นเอกภาพและบริติชก็ให้คำมั่นสัญญาว่าจะสนับสนุนรัฐอาหรับที่เป็นเอกราชและรวมรวมเป็นปึกแผ่นเพียงหนึ่งเดียว

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 Murphy, p. 26.
  2. Mehmet Bahadir Dördüncü, Mecca-Medina: the Yıldız albums of Sultan Abdülhamid II, Tughra Books, 2006, ISBN 1-59784-054-8, page 29. Number refers only to those laying siege to Medina by the time it surrendered and does not account for Arab insurgents elsewhere.
  3. Military Intelligence and the Arab Revolt: The first modern intelligence war, Polly a. Mohs, ISBN 1-134-19254-1, Routledge, p. 41.
  4. Erickson 2001, p. 238, Appendix F.
  5. War Office (1922). Statistics of the military effort of the British Empire during the Great War, 1914-1920. London H.M. Stationery Office. p. 633.: 8000 prisoners taken by the Arab insurgents in Syria-Palestine in 1918, joining 98,600 taken by the British.
  6. Parnell, p. 75: 6,000 prisoners taken by the end of 1916
  7. Süleyman Beyoğlu, The end broken point of Turkish-Arabian relations: The evacuation of Medine, Atatürk Atatürk Research Centre Journal (Number 78, Edition: XXVI, November 2010) (Turkish). 8000 Ottoman troops surrendered at the end of the Siege of Medina and were evacuated to Egypt afterwards.