ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เดมิเซ็กชวล"
หน้าตา
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
สร้างขึ้นโดยการแปลหน้า "Demisexuality" |
(ไม่แตกต่าง)
|
รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:17, 25 มิถุนายน 2566
ศัพทมูลวิทยา | ฝรั่งเศส: demi มีความหมายว่า "ครึ่ง" |
---|---|
นิยาม | 1: สถานะของการไม่มีประสบการณ์การดึงดูดทางเพศในขั้นปฐมภูมิ 2: ดึงดูดทางเพศกับบางคน (ไม่ว่าจะมีสถานะเพศใด ๆ) หลังมีประสบการณ์ร่วมกันเป็นระยะเวลาหนึ่ง |
ประเภท | อัตลักษณ์ทางเพศ |
หมวดหมู่หลัก | เอเซ็กชวล |
คำอื่น ๆ | |
คำที่เกี่ยวข้อง | เอเซ็กชวล |
ธง | |
ชื่อธง | ธงไพรด์ของเดมิเซ็กชวล |
ความหมาย | เชฟรอนสีดำหมายถึงเอเซ็กชวล, สีเทาหมายถึงเกรย์เอเซ็กชวล, สีขาวหมายถึงเซ็กชวล และสีม่วงหมายถึงชุมชน[1] |
เดมิเซ็กชวลลิตี (อังกฤษ: demisexuality) หรือ เดมิเซ็กชวล (อังกฤษ: demisexual) เป็นรสนิยมทางเพศในบุคคลที่ไม่มีประสบการณ์การดึงดูทางเพศในขั้นปฐมภูมิ[2]– อันเป็นชนิดของการดึงดูดที่อาศัยลักษณะที่สังเกตเห็นได้ทันที เช่น รูปร่างหน้าตาหรือกลิ่น และประสบได้ทันทีหลังจากพบครั้งแรก บุคคลที่เป็นเดมิเซ็กชวลสามารถมีประสบการณ์การดูดทางเพศเฉพาะในขั้นทุติยภูมิ – อันเป็นชิดของการดึงดูดที่เกิดขึ้นหลังจากการพัฒนาความผูกพันทางอารมณ์[3] [4] ระยะเวลาที่บุคคลที่เป็นเดมิเซ็กชวลจำเป็นต้องรู้จักบุคคลอื่นก่อนที่จะพัฒนาเป็นการดึงดูดทางเพศต่อบุคคลอื่นนั้นแตกต่างกันไปในแต่ละคน[5] โดยทั่วไปแล้วเดมิเซ็กช่วลจัดอยู่ในสเปกตรัมของเอเซ็กชวล[6] [7]
บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของ |
หัวข้อเอเซ็กชวล |
---|
หัวข้อที่เกี่ยวข้อง |
ในสังคม |
การศึกษา |
ทัศนคติและการเลือกปฏิบัติ |
ชุมชนเอเซ็กชวล |
รายชื่อ |
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- ↑ "Queer 101". Old Dominion University. สืบค้นเมื่อ 2022-07-19.
- ↑ "Explore the spectrum: guide to finding your ace community". GLAAD. 2018-06-25. สืบค้นเมื่อ 2022-07-20.
- ↑ "What Is Demisexuality?". WebMD. สืบค้นเมื่อ 2022-09-04.
- ↑ "No lust at first sight: why thousands are now identifying as 'demisexual'". The Guardian. 2019-09-07. สืบค้นเมื่อ 2022-07-23.
- ↑ "What Is Demisexuality?". Feeld. สืบค้นเมื่อ 2022-07-20.
- ↑ Decker, Julie Sondra (2015). "Grayromanticism". The Invisible Orientation: An Introduction to Asexuality. Simon and Schuster. ISBN 978-1510700642. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 22, 2020. สืบค้นเมื่อ April 24, 2020.
- ↑ Kurowicka, Anna; Przybylo, Ela (2020). "Polish Asexualities: Catholic Religiosity and Asexual Online Activisms in Poland". ใน Buyantueva, Radzhana; Shevtsova, Maryna (บ.ก.). LGBTQ+ Activism in Central and Eastern Europe: Resistance, Representation and Identity. Palgrave Macmillan. p. 297. ISBN 978-3030204013. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 28, 2020. สืบค้นเมื่อ April 24, 2020.