ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดอกส้มสีทอง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 90: บรรทัด 90:
*[[รางวัลโทรทัศน์ทองคำ|โทรทัศน์ทองคำ]] ครั้งที่ 26 ประจำปี พ.ศ. 2554 นักแสดงสนับสนุนชายยอดเยี่ยม [[หลุยส์ สก็อต]]
*[[รางวัลโทรทัศน์ทองคำ|โทรทัศน์ทองคำ]] ครั้งที่ 26 ประจำปี พ.ศ. 2554 นักแสดงสนับสนุนชายยอดเยี่ยม [[หลุยส์ สก็อต]]
*โทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 26 ประจำปี พ.ศ. 2554 นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม อารยา เอ ฮาร์เก็ต<ref>[[เดลินิวส์]]: หน้า 10 ฉบับ[[วันอาทิตย์]]ที่ [[12 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2555]] แรม 8 ค่ำ เดือน 3 [[ปีเถาะ]]</ref>
*โทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 26 ประจำปี พ.ศ. 2554 นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม อารยา เอ ฮาร์เก็ต<ref>[[เดลินิวส์]]: หน้า 10 ฉบับ[[วันอาทิตย์]]ที่ [[12 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2555]] แรม 8 ค่ำ เดือน 3 [[ปีเถาะ]]</ref>
*[[รางวัลเมขลา]] ครั้งที่ 24 ประจำปี พ.ศ. 2554 นักแสดงนำหญิงมหานิยม อารยา เอ ฮาร์เก็ต
*รางวัลเมขลา ครั้งที่ 24 ประจำปี พ.ศ. 2554 บทโทรทัศน์เมขลามหานิยม ศัลยา<ref>[http://www.dailynews.co.th/entertainment/16600 ณเดชน์-ชมพู่ คว้ารางวัลเมขลา จากเดลินิวส์]]]</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:00, 11 มีนาคม 2555

ดอกส้มสีทอง
สร้างโดยบริษัท บรอดคาซท์ ไทย เทเลวิชั่น จำกัด
เขียนโดยบทประพันธ์: ถ่ายเถา สุจริตกุล
บทโทรทัศน์: ศัลยา
กำกับโดยโชติรัตน์ รักษ์เริ่มวงษ์
การผลิต
ผู้อำนวยการผลิตประวิทย์ มาลีนนท์
อรุโณชา ภาณุพันธ์
ความยาวตอน120 นาที/ตอน
ออกอากาศ
เครือข่ายสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3
ออกอากาศ30 มีนาคม พ.ศ. 2554 –
19 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

ดอกส้มสีทอง เป็นละครที่ออกฉายทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 โดยเป็นภาคต่อจากละครเรื่องมงกุฎดอกส้ม ละครพัฒนาจากบทประพันธ์ในชื่อเดียวกันเรื่อง ดอกส้มสีทอง บทประพันธ์ของ ถ่ายเถา สุจริตกุล[1] สำหรับละครในตอนจบของเรื่อง เฉพาะในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล กลุ่มคนดูอายุ 15-44 ปี วัดเรตติ้งได้ 24.7 แต่ยอดรวมทั่วประเทศอยู่ที่เพียง 13.5[2]

นักแสดง

บทบาทในเรื่อง นักแสดง หมายเหตุ
เรยา วงศ์เศวต (ฟ้า) อารยา เอ ฮาร์เก็ต
ก้องเกียรติ เจนพานิชย์สกุล (คุณชายใหญ่) วิทยา วสุไกรไพศาล
เกียรติกร เจนพานิชย์สกุล (ซีเค) หลุยส์ สก็อต
ณฤดี (คุณดี๋) มนัสนันท์ พันเลิศวงศ์สกุล
ซิลเวีย (คุณนายที่ 5) เบญจวรรณ อาร์ดเนอร์
สินทร ชลธี (สิน) วรวุฒิ นิยมทรัพย์
เด่นจันทร์ ชลธี (เด่น) อภิษฎา เครือคงคา
เจ้าสัวเชงสือเกียง ฉัตรชัย เปล่งพานิช
เม่งฮวย (คุณนายที่ 1) จริยา แอนโฟเน่
เยนหลิง (คุณนายที่ 2) รินลณี ศรีเพ็ญ
คำแก้ว (คุณนายที่ 4) วนิดา เติมธนาภรณ์ รับเชิญ
กรองกาญจน์ เจนพานิชย์สกุล (หมวยใหญ่) ณิชชาพัณณ์ ชุณหะวงศ์วสุ
ไทรรัตน์ โชคชัย บุญวรเมธี
เรืองยศ สุพจน์ จันทร์เจริญ รับเชิญ
ลำยอง ปวีณา ชารีฟสกุล
นัท ธนวรรธน์ วรรธนะภูติ รับเชิญ
โจ โฆษวิส ปิยะสกุลแก้ว
เต้ ธนากร สุขสมเลิศ
พุ่ม อัญชลี ไชยศิริ
จิว วิโรจน์ ตั้งวาณิชย์
เง็ก จรรยา ธนาสว่างกุล
ฮุ้ง อณูวรรณ ปวีญานนท์
ดาว กฤติยา วุฒิหิรัญปรีดา
อาจู ปาจรีย์ ณ นคร

การวิจารณ์จากสังคม

เมื่อออกฉาย กระแสของละครเรื่องนี้ได้ก่อให้เกิดเป็นการวิพากษ์วิจารณ์ในสังคมอย่างกว้างขวาง โดยมีผู้ต้องการให้เปลี่ยนเนื้อหา โดยเรียกร้องผ่านไปยังกระทรวงวัฒนธรรม เนื่องจากมองว่าตัวละครเอก คือ เรยา มีพฤติกรรมชอบแย่งสามีคนอื่นและมีฉากเพศสัมพันธ์มากเกินไป ไม่เหมาะสมกับเด็กและเยาวชน[3] แต่ทางผู้จัดอ้างว่าไม่สามารถเปลี่ยนเนื้อหาได้[4] ซึ่งละครเรื่องนี้ได้ถูกจัดเรตให้เป็น น.13+ ต่อมาได้ถูกเปลี่ยนให้เป็นเรต น.18+ [5] ในที่สุดหลังการถกกับ นายองอาจ คล้ามไพบูลย์ รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ดูแลสื่อมวลชนภายในประเทศ ได้ข้อสรุปว่า จะตัดบางฉากที่ไม่เหมาะสมออก[6]

รางวัล

  • คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 9 ประจำปี พ.ศ. 2554 นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม อารยา เอ ฮาร์เก็ต
  • คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 9 ประจำปี พ.ศ. 2554 บทละครโทรทัศน์ยอดเยี่ยม ศัลยา (ถ่ายเถา สุจริตกุล)[7]
  • โทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 26 ประจำปี พ.ศ. 2554 นักแสดงสนับสนุนชายยอดเยี่ยม หลุยส์ สก็อต
  • โทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 26 ประจำปี พ.ศ. 2554 นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม อารยา เอ ฮาร์เก็ต[8]
  • รางวัลเมขลา ครั้งที่ 24 ประจำปี พ.ศ. 2554 นักแสดงนำหญิงมหานิยม อารยา เอ ฮาร์เก็ต
  • รางวัลเมขลา ครั้งที่ 24 ประจำปี พ.ศ. 2554 บทโทรทัศน์เมขลามหานิยม ศัลยา[9]

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น