ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การบินไทย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{รอการตรวจสอบ}}
{{เก็บกวาด}}
{{เว็บย่อ|THAI}}
{{กล่องข้อมูล สายการบิน
| airline = การบินไทย
| logo = Thaiair.jpg
| logo_size = 200px
| fleet_size = 88 (กำลังสั่งซื้อ 12 รายการ)
| destinations = 71 (59/12) (ต่างประเทศ/ในประเทศ)
| IATA = TG
| ICAO = THA
| callsign = Thai
| parent = [[กระทรวงคมนาคม]]<ref>{{cite web |url=http://www.set.or.th/set/companyinfo.do?type=holder&symbol=THAI&language=en&country=US |title=Major Shareholders |publisher=[[Stock Exchange of Thailand]] |date=[[2007-01-10]] |accessdate=2007-08-16}}</ref>
| founded = [[พ.ศ. 2503]]
| headquarters = [[กรุงเทพ]] [[ประเทศไทย]]
| key_people = นายอำพน กิตติอำพล (ประธานกรรมการบริษัท) <br />ดร.ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ (กรรมการผู้อำนวยการใหญ่)
| hubs = [[ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ]] <br /> [[ท่าอากาศยานดอนเมือง]][สิ้นสุดการให้บริการวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2552]
| focus_cities = [[ท่าอากาศยานนานาชาติเชียงใหม่]] <br /> [[ท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ต]]
| frequent_flyer = รอยัลออร์คิดพลัส
| lounge = Royal First Lounge <br /> Royal Silk Lounge <br /> Royal Orchid Lounge <br /> Royal Orchid SPA
| alliance = [[สตาร์อัลไลแอนซ์]]
| Company slogan = Smooth as silk. <br /> รักคุณเท่าฟ้า
| website = [http://www.thaiairways.co.th www.thaiairways.co.th]
}}

'''บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) ''' ({{lang-en|Thai Airways International}}) เป็น[[สายการบิน]]ทั้งภายในและระหว่างประเทศ และมีสภาพเป็นกิจการการบินแห่งชาติของ[[ประเทศไทย]] ในปัจจุบัน เริ่มบินเที่ยวแรกวันที่ [[1 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2503]] การบินไทยเป็นหนึ่งในสมาชิกก่อตั้งของเครือข่ายพันธมิตรสายการบิน[[สตาร์อัลไลแอนซ์]] ในประเทศไทยมีฉายาเรียกว่า '''เจ้าจำปี''' ซึ่งมีที่มาจากสัญลักษณ์ของการบินไทย การบินไทยได้ระดับความปลอดภัย "A" ซึ่งเป็นระดับที่ปลอดภัยที่สุด วัดจากสถิติสะสมตั้งแต่ [[พ.ศ. 2513]] โดย [[Air Rankings Online]]
บริษัทวิจัยในธุรกิจการบินของโลก "[[สกายแทรกซ์]] รีเสิร์ช" เผยผลสำรวจเพื่อจัดอันดับสายการบินแห่งปี 2550 ให้การบินไทยได้รับเลือกให้เป็นสายการบินอับดับ 2 ของโลก ขณะที่ในส่วนของเลานจ์สำหรับผู้โดยสารชั้นหนึ่งของการบินไทย ที่[[สนามบินสุวรรณภูมิ]]นั้น ได้รับการโหวตให้เป็น[[เลานจ์]]สำหรับผู้โดยสารชั้นหนึ่งที่ดีที่สุด <ref>[http://www.komchadluek.net/2007/08/11/d001_130744.php?news_id=130744 คมชัดลึก "บินไทย"คว้าอันดับสอง สุดยอดสายการบินปี50'']</ref>

[[ไฟล์:Thai Airways Building.JPG|thumb|สำนักงานใหญ่ของการบินไทย ที่ถนนวิภาวดี]]

== ประวัติ ==
{{บทความหลัก|ประวัติการบินไทย}}

== จุดหมายปลายทาง ==
{{บทความหลัก|จุดหมายปลายทางของการบินไทย}}

== ภาพลักษณ์ขององค์กร ==

การบินไทยเป็นหนึ่งในไม่กี่สายการบินที่มีระเบียบการเปลี่ยนเครื่องแบบ โดยพนักงานต้อนรับหญิงประจำเที่ยวบินระหว่างประเทศจะต้องเปลี่ยนเครื่องแบบจากชุดสูทสีม่วง (สำหรับแต่งกายนอกห้องโดยสาร) เป็นชุดไทยประเพณี (เห็นได้จากโฆษณาของสายการบิน) ขณะต้อนรับผู้โดยสารที่ขึ้นเครื่องบิน และต้องเปลี่ยนกลับเป็นชุดสูทเมื่อนำผู้โดยสารออกจากเครื่องบิน

== ฝูงบิน ==
== ฝูงบิน ==
{{บทความหลัก|เครื่องบินของการบินไทย}}
{{บทความหลัก|เครื่องบินของการบินไทย}}
บรรทัด 21: บรรทัด 63:
|-
|-
|[[แอร์บัส เอ 330|แอร์บัส เอ 330-300]]
|[[แอร์บัส เอ 330|แอร์บัส เอ 330-300]]
|15<br /> (5)
|14<br /> (6)
|305 (0/42/0/263) <br /> 299 (0/36/263)
|305 (0/42/0/263) <br /> 299 (0/36/263)
|(A333) <br /> (A330)
|(A333) <br /> (A330)
บรรทัด 83: บรรทัด 125:
|-
|-
|รวมทั้งหมด
|รวมทั้งหมด
|91 ลำ(สั่งซื้อ 11 ลำ)
|90 ลำ(สั่งซื้อ 12 ลำ)
|
|
|
|
บรรทัด 104: บรรทัด 146:


เนื่องจากความล่าช้าในแผนงานของ[[โบอิง 787]] การบินไทยอาจไม่สามารถได้เครื่องบินก่อน พ.ศ. 2555 ดังนั้น การบินไทยมีแผนที่จะเช่าซื้อ[[แอร์บัส เอ 380]], [[แอร์บัส เอ 330]] หรือ[[โบอิง 777]]มากขึ้น
เนื่องจากความล่าช้าในแผนงานของ[[โบอิง 787]] การบินไทยอาจไม่สามารถได้เครื่องบินก่อน พ.ศ. 2555 ดังนั้น การบินไทยมีแผนที่จะเช่าซื้อ[[แอร์บัส เอ 380]], [[แอร์บัส เอ 330]] หรือ[[โบอิง 777]]มากขึ้น

== บริการในห้องโดยสาร ==

การบินไทยแบ่งการให้บริการออกเป็น 4 คลาส ได้แก่ รอยัลเฟิร์ส , รอยัล ซิลค์ , ชั้นประหยัดพรีเมี่ยม ,ชั้นประหยัด
=== ชั้นหนึ่ง ===
การบริการแบบใหม่ในชั้น รอยัลเฟิร์สคลาส นี้มีในเครื่องบิน แอร์บัส [[แอร์บัส 340-600]] ด้วยที่นั่ง แบบปรับนอนเต็มที่ 8 ที่นั่ง โดยที่นั่งเดียวกันนี้ ยังมีในเครื่องบิน โบอิ้ง [[โบอิ้ง 747|B747-400]] อีก 12 ลำของการบินไทยด้วย ให้บริการเที่ยวบินระหว่าง สเปน โรม ฝรั่งเศส อังกฤษ ญี่ปุ่น จีน สวิตเซอร์แลนด์ เยอรมันนี สำหรับ[[โบอิ้ง 747|B747-400]] ส่วนแอร์บัส [[A340|A340-600]]จะมีบริการเพิ่มจาก[[โบอิ้ง 747|โบอิ้ง B747-400]] กล่าวคือไปเส้นทางคูเวต กัวลาลัมเปอร์ ปักกิ่ง เพิ่มเติม โดยมีการสลับสับเปลี่ยนเครื่องบินสองแบบนี้ในการให้บริการเส้นทาง ลอนดอน มิวนิค และซูริค ด้วย. ที่นั่งใหม่นี้ ประกอบไปด้วยอุปกรณ์อำนวยความสะดวก ต่างๆเช่น ระบบนวดผ่อนคลาย ,จอ ส่วนตัวขนาด 10.4 นิ้วพร้อมระบบความบันเทิงส่วนตัวผู้โดยสารในชั้นรอยัลเฟิร์สคลาสนี้สามารถเลือกเมนูอาหาร จากเมนูต่างๆ ทั้ง 22 รายการก่อนขึ้นเครื่องได้อีกด้วย
อนึ่ง การบินไทยได้จัดเครื่องบินแบบ [[โบอิ้ง 747|โบอิ้ง 747-400]]เป็นสองแบบโดยเรียกว่า โบอิ้ง 747 กับ โบอิ้ง 744 โดยใน โบอิ้ง 747 ออกแบบภายในไม่ค่อยทันสมัยเท่ากับ โบอิ้ง 744 มี 6 ลำ ใช้บินในเส้นทาง ฮ่องกง ไทเป โคเปนฮาเกน สตอกโฮล์ม โดยจะไม่ขายที่นั่งชั้นหนึ่งในเครื่องบินแบบ โบอิ้ง747
และไม่มีการขายที่นั่งชั้นหนึ่งในไฟล์ทภายในประเทศ เชียงใหม่และภูเก็ตด้วย ไม่ว่าจะเป็น โบอิ้ง 744 หรือ โบอิ้ง 747 ก็ตามรวมถึง แอร์บัส A346 ด้วย

[[ไฟล์:VTBS-Thai First class lounge entrance.JPG|left|thumb|120px|Royal First class check-in ที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ]]

=== ชั้นธุรกิจ ===
ชั้นธุรกิจแบบใหม่หรือ รอยัลซิลค์เปิดตัวครั้งแรกพร้อมกับแอร์บัส A340-500 มาในลักษณะแบบเปลือกหอย มีการติดตั้งชั้นธุรกิจนี้ใน โบอิ้ง 747-400
,โบอิ้ง 777-300 ,โบอิ้ง 777-200 ,โบอิ้ง 777-200ER ,แอร์บัส A340-500 และ แอร์บัส A340-600 ความห่างระหว่างที่นั้ง 60-62 นิ้ว และความกว้างของที่นั่ง 20-21.5 นิ้ว เมื่อเอนมากที่สุดจะมีลักษณะหลาดเอียงและทุกที่นั่งจะมีระบบนวดในตัว. ทุกที่นั่งจะมีโทรทัศน์ส่วนตัวระบบสัมผัส 10.4 และ 15 นิ้ว (ในเก้าอี้แบบใหม่)

=== ชั้นประหยัดพรีเมียม ===
ชั้น ประหยัดพรีเมี่ยม มีให้บริการเฉพาะเที่ยวบินระหว่าง [[กรุงเทพ]] และ ลอสแองเจิลลิส บนเครื่องบิน [[Airbus]] [[A340-500]] เท่านั้น.
ค่าโดยสารในชั้นประหยัดแบบพรีเมี่ยมนี้ จะมีราคาสูงกว่าชั้นประหยัดทั่วไป. ที่นั่งในชั้นประหยัดพรีเมี่ยม จะถูกติดตั้งแบบ 2-3-2 ซึ่งต่างจากชั้นประหยัดทั่วไปที่จะถูกจัดวางที่นั่งแบบ 2-4-2. ทั้นั่งในชั้นประหยัดพรีเมี่ยมนี้จะมีชอ่งว่างระหว่างที่นั่ง 42 นิ้วและปรับเอนได้ 135 องศาพร้อมที่พักเท้า. ผู้โดยสารในชั้นประหยัดพรีเมี่ยมสามารถเลือกเมนูอาหารได้ ทุกที่นั่งจะประกอบไปด้วยจอภาพส่วนตัว ขนาด 9 นิ้ว พร้อมระบบ AVOD และ IFE

เส้นทางบินระยะไกลบางเส้นทาง เช่น กรุงเทพ{{ndash}} สตอกโฮล์ม กรุงเทพ{{ndash}} โคเปนเฮเกน ที่บินด้วยเครื่องบินที่มีชั้นธุรกิจแบบเก่าจะขายที่นั่งเหล่านี้ในราคาของ ชั้นประหยัดพรีเมี่ยม

=== ชั้นประหยัด ===
[[ไฟล์:Thai Airways airline meal-dinner.JPG|thumb|left|อาหารในชั้นประหยัดของการบินไทย]] ขนาดที่นั่งในชั้นประหยัดของการบินไทย มีขนาดใหญ่ถึง 36" นิ้ว ซึ่งโดยทั่วไปจะมีขนาด 34"นิ้ว บนเครื่องบินลำอื่นๆ. แถวที่นั่งถูกจัดวางในรูปแบบ 3-3-3 ในเครื่องบินโบอิ้ง [[777-200]], [[777-300]] และ [[777-200ER]],และแบบ 2-4-2 ในเครื่องบินแอร์บัส [[A340-500]], [[A340-600]], [[A330-300]] และ [[A300-600]],จัดวางแบบ 3-4-3 ในเครื่องบินโบอิ้ง [[Boeing 747-400]] และแบบ 3-3 ในเครื่องบินโบอิ้ง [[737-400]]. ทุกที่นั่งในชั้นประหยัดบนเครื่องบินแอร์ยัส [[A340-500]], แอร์บัส [[A340-600]], โบอิ้ง [[777-200ER]] และโบอิ้ง [[777-300]] (HS-TKA and HS-TKB) จะถูกติดตั้งระบบมัลติมีเดีย(AVOD)หน้าจอระบบสัมผัส 9" นิ้ว. ระบบ AVOD จะถูกติดตั้งเพิ่มในเครื่องบิน โบอิ้ง [[777-300]] ในระหว่าง เดือนธันวาคม 2551- สิงหาคม 2551. และเครื่องบินรุ่นใหม่ของการบินไทยอย่าง แอร์บัส [[A330-300]] ก็คาดว่าจะถูกติดตั้งระบบ AVOD ในชั้นประหยัด เมือเครื่องบินพร้อมเข้าประจำการและเริ่มให้บริการในปี่ 2552.

== รอยัลออร์คิดพลัส ==

รอยัลออร์คิดพลัสของการบินไทยเป็นรายการสะสมแต้มการบินรายการแรกของไทย มีสมาชิกจากทั่วโลกมากกว่า 2 ล้านคน

'''การสะสมไมล์ เดินทาง'''

มีการสะสมไมล์ 2 รูปแบบ เพื่อรับสิทธิพิเศษ รอยัล ออร์คิด พลัส.

แบบแรก,

''Eligible Qualifying Mile''s (EQM) สะสมไมล์เดินทาง เมื่อใช้บริการดังต่อไปนี้:
* เที่ยวบินของสายการบินไทย
* เที่ยวบินในสายการบิน/เที่ยวที่แชร์เส้นทาง จาก/ถึง กรุงเทพ (สายการบินมาเลเซีย, สายการบิน อาร์มิเรท, El Al สายการบินอิสราเอล และสายการบินไชน่า อีสเทิร์น)
* เที่ยวบินในสายการบินที่อยู่ใน Star Alliance
* เที่ยวบินในสายการบิน เจ๊ท แอร์เวย์

''Qualifying Mile''s (Q Miles) สะสมไมค์เดินทาง ในชั้นบริการของสารการบินไทย และสายการบิน สตาร์ อลิอันส์. รอยัล ออคิด พลัส ไมล์ จะสะสมแต้มตามชั้นที่คุณได้ใช้บริการ.

[[ไฟล์:thai.b747-400.hs-tgr.arp.jpg|thumb|right| สายการบินไทย[[Boeing 747-400]] in 1974-2005 livery, กำลังทะยานขึ้น]]


แบบที่สอง ,

''Partner Mile''สะสมจากการใช้บริการอื่นที่ไม่ใช่พาร์ทเนอร์, เช่นโรงแรม.

'''Status Tiers'''

รอยัลออคิด พลัส มี 3 ระดับชั้น
* สมาชิก{{ndash}} สำหรับสมาชิกทั่วไป
* ซิลเวอร์{{ndash}} ต้องมีไมล์สะสมตั้งแต่ 10,000 Q ไมล์ ใน 1 ปี หรือ 15,000 Q ไมล์จากวันเริ่มจนถึงวันที่ [[31 ธันวาคม]] ของปีถัดไป
* โกลด์{{ndash}} ต้องมีไมล์สะสมตั้งแต่ 50,000 Q ไมล์ ใน 1 ปี หรือ, 80,000 Q ไมล์ จากวันที่เริ่มจนถึงวันที่ [[31 ธันวาคม]] ของปีถัดไป, หรือใช้บริการเที่ยวบินระหว่างประเทศตั้งแต่ 40 เที่ยวบินกับการบินไทย ภายใน 1 ปี.

== ข้อตกลงการทำการบินร่วม ==
[[ไฟล์:VTBS-Thai Airways Check-in counters.JPG|thumb|right|เคาน์เตอร์เช็คอินที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ กรุงเทพมหานคร]]
การบินไทยทำการบินร่วมกับสายการบินดังต่อไปนี้:
<div style="-moz-column-count:2; column-count:2;">
* [[Aerosvit Airlines]] (กรุงเทพมหานคร-เคียฟ)
* [[แอร์แคนาดา]] (SA) (แวนคูเวอร์-โตเกียว/ฮ่องกง, โตรอนโต-แฟรงค์เฟิร์ต/ลอนดอน/ซูริค/ฮ่องกง, มอนทรีออล-แฟรงค์เฟิร์ต/ลอนดอน)
* [[แอร์มาเก๊า]] (กรุงเทพมหานคร-มาเก๊า)
* [[แอร์มาดากัสการ์]] (กรุงเทพมหานคร-Antananarivo)
* [[ออลนิปปอนแอร์เวย์]] (SA) (เที่ยวบินภายในประเทศญี่ปุ่น ระหว่างโตเกียว, โอซากา, ฟุกุโอกะ, ฮาเนดะ, Komatsu , นาโกยา, นิอิงาตะ และซัปโปโร, กรุงเทพมหานคร-โตเกียว และเที่ยวบินระหว่างโตเกียวและสหรัฐอเมริกา)
* [[แอร์นิวซีแลนด์]] (SA) (เที่ยวบินภายในประเทศนิวซีแลนด์ และเที่ยวบินระหว่างนิวซีแลนด์และออสเตรเลีย)
* [[เอเชียนาแอร์ไลน์]] (SA) (กรุงเทพมหานคร-โซล, ภูเก็ต-โซล, ปูซาน-โซล)
* [[ออสเตรียนแอร์ไลน์]] (SA) (กรุงเทพมหานคร-เวียนนา, เที่ยวภายในประเทศออสเตรีย, เวียนนา-มิวนิค/แฟรงค์เฟิร์ต และ Salzburg-แฟรงค์เฟิร์ต)
* [[บางกอกแอร์เวย์]] (กรุงเทพมหานคร-กุ้ยหลิน/เซินเจิ้น/Xianyang)
* [[British Midland|bmi]] (SA) (เที่ยวบินภายในสหราชอาณาจักรและไอร์แลนด์)
* [[Blue1]] (SA) (สต็อคโฮล์ม-Vaasa/Tampere/Turku/เฮลซิงกิ, โคเปนเฮเกน-เฮลซิงกิ)
* [[ไชน่าแอร์ไลน์]] (กรุงเทพมหานคร-เกาซง)
* [[ไชน่าอีสเทิร์นแอร์ไลน์]] (กรุงเทพมหานคร-เซี่ยงไฮ้)
* [[อียิปต์แอร์]] (SA) (กรุงเทพมหานคร-ไคโร)
* [[El Al Israel Airlines]] (กรุงเทพมหานคร-Tel Avia)
* [[เอมิเรตส์]] (กรุงเทพมหานคร-ดูไบ)
* [[กัลฟ์แอร์]] (กรุงเทพมหานคร-บาห์เรน)
* [[เจแปนแอร์ไลน์]] (เที่ยวบินภายในประเทศญี่ปุ่น, กรุงเทพมหานคร-โอซากา/นาโกยา)
* [[เจ็ทแอร์เวย์]] (เที่ยวบินระหว่างกรุงเทพมหานครและอินดีย)
* [[ลุฟต์ฮันซา]] (SA) (เที่ยวบินภายในประเทศเยอรมนี, เที่ยวบินระหว่างแฟรงค์เฟิร์ตและมิวนิคไปยังเมืองอื่นๆในยุโรป, กรุงเทพมหานคร-กัวลาลัมเปอร์/แฟรงค์เฟิร์ต, เที่ยวบินระหว่างแฟรงค์เฟิร์ตและสหรัฐอเมริกา)
* [[มาเลเซียแอร์ไลน์]] (กัวลาลัมเปอร์-กรุงเทพมหานคร/ภูเก็ต)
* [[Myanmar Airways International]] (กรุงเทพมหานคร-ย่างกุ้ง)
* [[Pakistan International Airlines]] (กรุงเทพมหานคร-อิสลามาบัด)
* [[พีบีแอร์]] (กรุงเทพมหานคร-ดานัง/บุรีรัมย์/ลำปาง/น่าน/นครพนม/ร้อยเอ็ด/สกลนคร)
* [[กาตาร์แอร์เวย์]] (กรุงเทพมหานคร-โดฮา)
* [[รอยัลบรูไนแอร์ไลน์]] (กรุงเทพมหานคร-บันดาร์เสรีเบกาวัน)
* [[รอยัลจอร์แดเนียน]] (กรุงเทพมหานคร-อัมมาน)
* [[Scandinavian Airlines System|SAS]] (SA) (เที่ยวบินระหว่างสแกนดิเนเวียและยุโรป, เที่ยวบินภายในสแกนดิเนเวีย)
* [[เซี่ยงไฮ้แอร์ไลน์]] (SA) (เที่ยวบินภายในประเทศจีน จากเซี่ยงไฮ้)
* [[สแปนแอร์]] (SA) (เที่ยวบินภายในประเทศสเปน)
* [[สวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์]] (SA) (กรุงเทพมหานคร-ซูริค, เที่ยวบินภายในประเทศสวิตเซอร์แลนด์)
* [[แท็ปโปรตุเกส]] (SA) (ลิสบอน-ซูริค/แฟรงค์เฟิร์ต/มาดริด)
* [[ยูไนเต็ดแอร์ไลน์]] (SA) (เที่ยวบินภายในประเทศสหรัฐอเมริกา จากลอสแอนเจลิส, ชิคาโก-ลอนดอน, โตเกียว-ชิคาโก/ซานฟรานซิสโก)

</div>

== อุบัติเหตุ ==

* [[31 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2535]] - [[การบินไทย เที่ยวบินที่ 311]] เครื่องบิน[[แอร์บัส เอ 310]]ของการบินไทย ชนเทือกเขา 35 กม. ทางเหนือของ[[กาฎมันฑุ]] ผู้โดยสาร 113 คนเสียชีวิต (ผู้โดยสาร 99 คน และ พนักงาน 14 คน) สาเหตุเกิดจากปัญหาทางเทคนิค<ref>[http://planecrashinfo.com/1992/1992-35.htm รายละเอียดเครื่องบินตก 2535]</ref>

* [[11 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2541]] – [[การบินไทย เที่ยวบินที่ 261]] เครื่องบิน[[แอร์บัส เอ 310]]ของการบินไทย จาก[[กรุงเทพ]]ไป[[สุราษฎร์ธานี]] สาเหตุเนื่องจากฝนตกหนักมาก ผู้โดยสาร 102 คน จาก 143 คน เสียชีวิต<ref>[http://www.planecrashinfo.com/1998/1998-43.htm รายละเอียดเครื่องบินตก 2541]</ref>

* [[3 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2544]] – [[การบินไทย เที่ยวบินที่ 114]] เครื่องบิน[[โบอิง 737|โบอิ้ง 737-4D7]]ของการบินไทย จาก[[กรุงเทพ]]ไป[[เชียงใหม่]] เกิดระเบิดขึ้นในขณะที่จอดที่สนามบิน ไม่มีผู้โดยสารเสียชีวิต สาเหตุเกิดจากน้ำมันกับอากาศเข้าผสมกัน และเกิดการสันดาปขึ้นในส่วนของถังน้ำมันเนื่องจากสภาพอากาศร้อนจัด<ref>[http://www.planecrashinfo.com/2001/2001-14.htm รายละเอียดเครื่องบินระเบิด 2544]</ref>

== รางวัลที่ได้รับ ==

{{บทความหลัก|รางวัลที่การบินไทยได้รับ}}

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}

== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์|Thai Airways International}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
* [http://www.thaiairways.co.th/ เว็บไซต์ของการบินไทย]
* [http://vigportal.mot.go.th/portal/site/PortalMOT/menuitem.3924b9fad3e0f382a88bc955506001ca/ เว็บไซต์ของกระทรวงคมนาคม]
* [http://www.thaicabincrew.com/webboard/viewtopic.php?t=40347 ประวัติของการบินไทย]
* [http://www.thaiairways.co.th/eng/TG/A300-600.php?mid=ab6รายละเอียดเครื่องบินรุ่นต่างๆของการบินไทย]
* [http://www.thaitransport-photo.net/index.php รูปและข้อมูลเกี่ยวกับการบินไทย]
* [http://vigportal.mot.go.th/portal/site/PortalMOT/menuitem.5b33fc2b235d3482a88bc955506001ca/ หน่วยงานในสังกัดกระทรวงคมนาคม]
{{จบอ้างอิง}}

{{สายการบินสัญชาติไทย}}
{{สตาร์อัลไลแอนซ์}}
{{SET 100}}

[[หมวดหมู่:สายการบิน]]
[[หมวดหมู่:สายการบินสัญชาติไทย]]
[[หมวดหมู่:การบินไทย]]
[[หมวดหมู่:บริษัทมหาชน]]
[[หมวดหมู่:สตาร์อัลไลแอนซ์]]
[[หมวดหมู่:รัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงคมนาคม]]

[[ar:الخطوط الجوية الدولية التايلاندية]]
[[ca:Thai Airways International]]
[[da:Thai Airways International]]
[[de:Thai Airways International]]
[[en:Thai Airways International]]
[[es:Thai Airways]]
[[fi:Thai Airways International]]
[[fr:Thai Airways International]]
[[he:תאי איירווייז אינטרנשיונל]]
[[hu:Thai Airways International]]
[[id:Thai Airways International]]
[[it:Thai Airways International]]
[[ja:タイ国際航空]]
[[ko:타이 국제항공]]
[[ms:Thai Airways International]]
[[nl:Thai Airways International]]
[[nn:Thai Airways International]]
[[no:Thai Airways International]]
[[pl:Thai Airways International]]
[[pt:Thai Airways International]]
[[ru:Thai Airways International]]
[[sh:Thai Airways International]]
[[simple:Thai Airways International]]
[[sk:Thai Airways International]]
[[sr:Таи ервејз интернешнал]]
[[sv:Thai Airways International]]
[[tr:Thai Airways International]]
[[vi:Thai Airways International]]
[[wuu:泰国国际航空公司]]
[[zh:泰國國際航空]]
[[zh-classical:泰國國際航空]]
[[zh-yue:泰國國際航空]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:13, 2 สิงหาคม 2552

การบินไทย
ไฟล์:Thaiair.jpg
IATA ICAO รหัสเรียก
TG THA Thai
ก่อตั้งพ.ศ. 2503
ท่าหลักท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
ท่าอากาศยานดอนเมือง[สิ้นสุดการให้บริการวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2552]
เมืองสำคัญท่าอากาศยานนานาชาติเชียงใหม่
ท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ต
สะสมไมล์รอยัลออร์คิดพลัส
พันธมิตรการบินสตาร์อัลไลแอนซ์
ขนาดฝูงบิน88 (กำลังสั่งซื้อ 12 รายการ)
จุดหมาย71 (59/12) (ต่างประเทศ/ในประเทศ)
บริษัทแม่กระทรวงคมนาคม[1]
สำนักงานใหญ่กรุงเทพ ประเทศไทย
บุคลากรหลักนายอำพน กิตติอำพล (ประธานกรรมการบริษัท)
ดร.ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ (กรรมการผู้อำนวยการใหญ่)
เว็บไซต์www.thaiairways.co.th

บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) (อังกฤษ: Thai Airways International) เป็นสายการบินทั้งภายในและระหว่างประเทศ และมีสภาพเป็นกิจการการบินแห่งชาติของประเทศไทย ในปัจจุบัน เริ่มบินเที่ยวแรกวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2503 การบินไทยเป็นหนึ่งในสมาชิกก่อตั้งของเครือข่ายพันธมิตรสายการบินสตาร์อัลไลแอนซ์ ในประเทศไทยมีฉายาเรียกว่า เจ้าจำปี ซึ่งมีที่มาจากสัญลักษณ์ของการบินไทย การบินไทยได้ระดับความปลอดภัย "A" ซึ่งเป็นระดับที่ปลอดภัยที่สุด วัดจากสถิติสะสมตั้งแต่ พ.ศ. 2513 โดย Air Rankings Online

บริษัทวิจัยในธุรกิจการบินของโลก "สกายแทรกซ์ รีเสิร์ช" เผยผลสำรวจเพื่อจัดอันดับสายการบินแห่งปี 2550 ให้การบินไทยได้รับเลือกให้เป็นสายการบินอับดับ 2 ของโลก ขณะที่ในส่วนของเลานจ์สำหรับผู้โดยสารชั้นหนึ่งของการบินไทย ที่สนามบินสุวรรณภูมินั้น ได้รับการโหวตให้เป็นเลานจ์สำหรับผู้โดยสารชั้นหนึ่งที่ดีที่สุด [2]

สำนักงานใหญ่ของการบินไทย ที่ถนนวิภาวดี

ประวัติ

จุดหมายปลายทาง

ภาพลักษณ์ขององค์กร

การบินไทยเป็นหนึ่งในไม่กี่สายการบินที่มีระเบียบการเปลี่ยนเครื่องแบบ โดยพนักงานต้อนรับหญิงประจำเที่ยวบินระหว่างประเทศจะต้องเปลี่ยนเครื่องแบบจากชุดสูทสีม่วง (สำหรับแต่งกายนอกห้องโดยสาร) เป็นชุดไทยประเพณี (เห็นได้จากโฆษณาของสายการบิน) ขณะต้อนรับผู้โดยสารที่ขึ้นเครื่องบิน และต้องเปลี่ยนกลับเป็นชุดสูทเมื่อนำผู้โดยสารออกจากเครื่องบิน

ฝูงบิน

ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2552 ฝูงบินของการบินไทยประกอบไปด้วยเครื่องบินดังต่อไปนี้ [3]

ฝูงบินของการบินไทย
เครื่องบิน จำนวน/(สั่งซื้อ) ความจุผู้โดยสาร
(First/Royal Silk/Premium Economy*/Economy)
รหัสทางการบิน หมายเหตุ
แอร์บัส เอ 300-600 10
2
5
247 (0/46/0/201)
261 (0/28/0/233)
260 (0/28/0/232)
(AB6) 36R1
(AB7) 3602
(AB7) 36R3
จะปลดระวางสามลำใน พ.ศ. 2552
(AB6) ภายในประเทศ, ฟูกูโอกะ, ไฮเดอราบัด, พนมเปญ , ฮานอย, ละฮอร์, (AB7) คุณหมิง, เฉิงตู, เซี๊ยเหมิน, ฮ่องกง, โฮจิมินต์, กัลกัตตา, ย่างกุ้ง, มะนิลา, เชนไน, ปูซาน
แอร์บัส เอ 330-300 14
(6)
305 (0/42/0/263)
299 (0/36/263)
(A333)
(A330)
หกลำส่งมอบใน พ.ศ. 2552 และที่เหลือใน พ.ศ. 2553
ทดแทนแอร์บัส เอ 300-600
(A333) ฮ่องกง, กว่างโจว, ไทเป, ฮานอย, โฮจิมินต์, สิงค์โปร์, จากาตา, บาหลี, ปีนัง, บังกาลอร์, เดลลี, มุมไบ, ธากา, การาจี, มัสกัต (A330) ภูเก็ต, เพิร์ธ, ดูไบ, เชนไน, โซล
แอร์บัส เอ 340-500 4
215 (0/60/42/113) (A345) ลอสแอนเจลิส, ออสโล
แอร์บัส เอ 340-600 6
267 (8/60/0/199) (A346) ซูริค, ฮ่องกง, โตเกียว, มิวนิค , ปักกิ่ง, สิงคโปร์, กัวลาลัมเปอร์
แอร์บัส เอ 380-800 (6) ส่งมอบระหว่าง พ.ศ. 2555-2556 จะใช้สำหรับเส้นทางกรุงเทพฯ– ลอนดอน-ฮีทโธรว์, ปารีส-ชาร์ลส์เดอโกล และแฟรงค์เฟิร์ท
เอทีอาร์-72-200 2
66 (0/0/0/66) (AT7) เชียงใหม่, แม่ฮ่องสอน
โบอิง 737-400 9 150 (0/12/0/138) (B734) ไม่รวม 3 ลำที่ให้นกแอร์เช่าซื้อ เวียงจันทร์, พนมเปญ, เชียงราย, ขอนแก่น, อุดรธานี, อุบลราชธานี, สุราษฎธานี, สมุย, กระบี่, พิษณุโลก


เครื่องบินทดแทนแอร์บัส เอ 321-200

โบอิง 747-400 6
12
389 (14/50/0/325)
375 (10/40/0/325)
(B747)
(B744)
เซี่ยงไฮ้, ปักกิ่ง, โรม, มาดริด, แฟรงเฟริ์ต, โคเปนฮาเกน, ลอนดอน, ปารีส, ภูเก็ต, เชียงใหม่, สตอกโฮล์ม, โตเกียว, ฮ่องกง, มิวนิค, ไทเป , ซูริค
ลำใหม่สุด 8 ลำรอปรับปรุง เริ่มกลางปี พ.ศ. 2552
โบอิง 777-200 8 309 (0/30/0/279) (B772) มะนิลา, โตเกียว, นาโกยา, โอซากา, โตเกียว-ภูเก็ต, เดลลี, กาฎมัณฑุ, กัวลาลัมเปอร์
โบอิง 777-200 อีอาร์ 6 292 (0/30/0/262) (B77E) มิลาน, เมลเบิร์น, มอสโคว, เอเธนส์ , โอ๊คแลนด์, ซิดนีย์
โบอิง 777-300 2
4
388 (0/49/0/339)
364 (0/34/0/330)
(B773)
(B77R)
(B77R) ซิดนีย์, บริสเบน (B773) โซล, สิงค์โปร์, ปีนัง
รวมทั้งหมด 90 ลำ(สั่งซื้อ 12 ลำ)

*ชั้นประหยัดพรีเมี่ยมมีในเที่ยวบินตรงจากกรุงเทพไปลอสแอนเจิลลิสและออสโลเท่านั้น *AB7 A330 B77R B77E B744เป็นรหัสที่การบินไทยใช้เท่านั้นเพื่อกันความสับสนระหว่างเครื่องที่ออกแบบภายในใหม่กับแบบเก่า ไม่สามารถอ้างอิงตามสากลได้


Thai 777-200s in the old (right) and new (left) liveries
ที่ท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง

ตามข้อมูลเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2550 อายุเฉลี่ยของฝูงบินของการบินไทยอยู่ที่ 10.5

การบินไทยสั่งซื้อเครื่องบินแอร์บัส เอ 380 ซึ่งจะส่งมอบตั้งแต่ พ.ศ. 2555-2556 เพื่อใช้ในเที่ยวบินไปแฟรงค์เฟิร์ท, ปารีส และลอนดอน ซึ่งยังไม่สามารถเพิ่มความถี่ได้

แอร์บัส เอ 300-600ทุกลำจะปลดระวางระหว่าง พ.ศ. 2552-2553 การบินไทยจะทดแทนด้วยแอร์บัส เอ 330-300 8 ลำ การส่งมอบเริ่มใน พ.ศ. 2552

การบินไทยมีแผนจะปลดระวางเครื่องบิน 47 ลำ และซื้อ 65 ลำใน 10 ปี วางแผนให้เช่าซื้อโบอิ้ง 787-9 14 ลำ และซื้อแอร์บัส เอ 321-200 20 ลำ การบินไทยยังศึกษาในโบอิง 787และแอร์บัส เอ 350

เนื่องจากความล่าช้าในแผนงานของโบอิง 787 การบินไทยอาจไม่สามารถได้เครื่องบินก่อน พ.ศ. 2555 ดังนั้น การบินไทยมีแผนที่จะเช่าซื้อแอร์บัส เอ 380, แอร์บัส เอ 330 หรือโบอิง 777มากขึ้น

บริการในห้องโดยสาร

การบินไทยแบ่งการให้บริการออกเป็น 4 คลาส ได้แก่ รอยัลเฟิร์ส , รอยัล ซิลค์ , ชั้นประหยัดพรีเมี่ยม ,ชั้นประหยัด

ชั้นหนึ่ง

การบริการแบบใหม่ในชั้น รอยัลเฟิร์สคลาส นี้มีในเครื่องบิน แอร์บัส แอร์บัส 340-600 ด้วยที่นั่ง แบบปรับนอนเต็มที่ 8 ที่นั่ง โดยที่นั่งเดียวกันนี้ ยังมีในเครื่องบิน โบอิ้ง B747-400 อีก 12 ลำของการบินไทยด้วย ให้บริการเที่ยวบินระหว่าง สเปน โรม ฝรั่งเศส อังกฤษ ญี่ปุ่น จีน สวิตเซอร์แลนด์ เยอรมันนี สำหรับB747-400 ส่วนแอร์บัส A340-600จะมีบริการเพิ่มจากโบอิ้ง B747-400 กล่าวคือไปเส้นทางคูเวต กัวลาลัมเปอร์ ปักกิ่ง เพิ่มเติม โดยมีการสลับสับเปลี่ยนเครื่องบินสองแบบนี้ในการให้บริการเส้นทาง ลอนดอน มิวนิค และซูริค ด้วย. ที่นั่งใหม่นี้ ประกอบไปด้วยอุปกรณ์อำนวยความสะดวก ต่างๆเช่น ระบบนวดผ่อนคลาย ,จอ ส่วนตัวขนาด 10.4 นิ้วพร้อมระบบความบันเทิงส่วนตัวผู้โดยสารในชั้นรอยัลเฟิร์สคลาสนี้สามารถเลือกเมนูอาหาร จากเมนูต่างๆ ทั้ง 22 รายการก่อนขึ้นเครื่องได้อีกด้วย อนึ่ง การบินไทยได้จัดเครื่องบินแบบ โบอิ้ง 747-400เป็นสองแบบโดยเรียกว่า โบอิ้ง 747 กับ โบอิ้ง 744 โดยใน โบอิ้ง 747 ออกแบบภายในไม่ค่อยทันสมัยเท่ากับ โบอิ้ง 744 มี 6 ลำ ใช้บินในเส้นทาง ฮ่องกง ไทเป โคเปนฮาเกน สตอกโฮล์ม โดยจะไม่ขายที่นั่งชั้นหนึ่งในเครื่องบินแบบ โบอิ้ง747 และไม่มีการขายที่นั่งชั้นหนึ่งในไฟล์ทภายในประเทศ เชียงใหม่และภูเก็ตด้วย ไม่ว่าจะเป็น โบอิ้ง 744 หรือ โบอิ้ง 747 ก็ตามรวมถึง แอร์บัส A346 ด้วย

Royal First class check-in ที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ชั้นธุรกิจ

ชั้นธุรกิจแบบใหม่หรือ รอยัลซิลค์เปิดตัวครั้งแรกพร้อมกับแอร์บัส A340-500 มาในลักษณะแบบเปลือกหอย มีการติดตั้งชั้นธุรกิจนี้ใน โบอิ้ง 747-400 ,โบอิ้ง 777-300 ,โบอิ้ง 777-200 ,โบอิ้ง 777-200ER ,แอร์บัส A340-500 และ แอร์บัส A340-600 ความห่างระหว่างที่นั้ง 60-62 นิ้ว และความกว้างของที่นั่ง 20-21.5 นิ้ว เมื่อเอนมากที่สุดจะมีลักษณะหลาดเอียงและทุกที่นั่งจะมีระบบนวดในตัว. ทุกที่นั่งจะมีโทรทัศน์ส่วนตัวระบบสัมผัส 10.4 และ 15 นิ้ว (ในเก้าอี้แบบใหม่)

ชั้นประหยัดพรีเมียม

ชั้น ประหยัดพรีเมี่ยม มีให้บริการเฉพาะเที่ยวบินระหว่าง กรุงเทพ และ ลอสแองเจิลลิส บนเครื่องบิน Airbus A340-500 เท่านั้น. ค่าโดยสารในชั้นประหยัดแบบพรีเมี่ยมนี้ จะมีราคาสูงกว่าชั้นประหยัดทั่วไป. ที่นั่งในชั้นประหยัดพรีเมี่ยม จะถูกติดตั้งแบบ 2-3-2 ซึ่งต่างจากชั้นประหยัดทั่วไปที่จะถูกจัดวางที่นั่งแบบ 2-4-2. ทั้นั่งในชั้นประหยัดพรีเมี่ยมนี้จะมีชอ่งว่างระหว่างที่นั่ง 42 นิ้วและปรับเอนได้ 135 องศาพร้อมที่พักเท้า. ผู้โดยสารในชั้นประหยัดพรีเมี่ยมสามารถเลือกเมนูอาหารได้ ทุกที่นั่งจะประกอบไปด้วยจอภาพส่วนตัว ขนาด 9 นิ้ว พร้อมระบบ AVOD และ IFE

เส้นทางบินระยะไกลบางเส้นทาง เช่น กรุงเทพ– สตอกโฮล์ม กรุงเทพ– โคเปนเฮเกน ที่บินด้วยเครื่องบินที่มีชั้นธุรกิจแบบเก่าจะขายที่นั่งเหล่านี้ในราคาของ ชั้นประหยัดพรีเมี่ยม

ชั้นประหยัด

อาหารในชั้นประหยัดของการบินไทย

ขนาดที่นั่งในชั้นประหยัดของการบินไทย มีขนาดใหญ่ถึง 36" นิ้ว ซึ่งโดยทั่วไปจะมีขนาด 34"นิ้ว บนเครื่องบินลำอื่นๆ. แถวที่นั่งถูกจัดวางในรูปแบบ 3-3-3 ในเครื่องบินโบอิ้ง 777-200, 777-300 และ 777-200ER,และแบบ 2-4-2 ในเครื่องบินแอร์บัส A340-500, A340-600, A330-300 และ A300-600,จัดวางแบบ 3-4-3 ในเครื่องบินโบอิ้ง Boeing 747-400 และแบบ 3-3 ในเครื่องบินโบอิ้ง 737-400. ทุกที่นั่งในชั้นประหยัดบนเครื่องบินแอร์ยัส A340-500, แอร์บัส A340-600, โบอิ้ง 777-200ER และโบอิ้ง 777-300 (HS-TKA and HS-TKB) จะถูกติดตั้งระบบมัลติมีเดีย(AVOD)หน้าจอระบบสัมผัส 9" นิ้ว. ระบบ AVOD จะถูกติดตั้งเพิ่มในเครื่องบิน โบอิ้ง 777-300 ในระหว่าง เดือนธันวาคม 2551- สิงหาคม 2551. และเครื่องบินรุ่นใหม่ของการบินไทยอย่าง แอร์บัส A330-300 ก็คาดว่าจะถูกติดตั้งระบบ AVOD ในชั้นประหยัด เมือเครื่องบินพร้อมเข้าประจำการและเริ่มให้บริการในปี่ 2552.

รอยัลออร์คิดพลัส

รอยัลออร์คิดพลัสของการบินไทยเป็นรายการสะสมแต้มการบินรายการแรกของไทย มีสมาชิกจากทั่วโลกมากกว่า 2 ล้านคน

การสะสมไมล์ เดินทาง

มีการสะสมไมล์ 2 รูปแบบ เพื่อรับสิทธิพิเศษ รอยัล ออร์คิด พลัส.

แบบแรก,

Eligible Qualifying Miles (EQM) สะสมไมล์เดินทาง เมื่อใช้บริการดังต่อไปนี้:

  • เที่ยวบินของสายการบินไทย
  • เที่ยวบินในสายการบิน/เที่ยวที่แชร์เส้นทาง จาก/ถึง กรุงเทพ (สายการบินมาเลเซีย, สายการบิน อาร์มิเรท, El Al สายการบินอิสราเอล และสายการบินไชน่า อีสเทิร์น)
  • เที่ยวบินในสายการบินที่อยู่ใน Star Alliance
  • เที่ยวบินในสายการบิน เจ๊ท แอร์เวย์

Qualifying Miles (Q Miles) สะสมไมค์เดินทาง ในชั้นบริการของสารการบินไทย และสายการบิน สตาร์ อลิอันส์. รอยัล ออคิด พลัส ไมล์ จะสะสมแต้มตามชั้นที่คุณได้ใช้บริการ.

สายการบินไทยBoeing 747-400 in 1974-2005 livery, กำลังทะยานขึ้น


แบบที่สอง ,

Partner Mileสะสมจากการใช้บริการอื่นที่ไม่ใช่พาร์ทเนอร์, เช่นโรงแรม.

Status Tiers

รอยัลออคิด พลัส มี 3 ระดับชั้น

  • สมาชิก– สำหรับสมาชิกทั่วไป
  • ซิลเวอร์– ต้องมีไมล์สะสมตั้งแต่ 10,000 Q ไมล์ ใน 1 ปี หรือ 15,000 Q ไมล์จากวันเริ่มจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม ของปีถัดไป
  • โกลด์– ต้องมีไมล์สะสมตั้งแต่ 50,000 Q ไมล์ ใน 1 ปี หรือ, 80,000 Q ไมล์ จากวันที่เริ่มจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม ของปีถัดไป, หรือใช้บริการเที่ยวบินระหว่างประเทศตั้งแต่ 40 เที่ยวบินกับการบินไทย ภายใน 1 ปี.

ข้อตกลงการทำการบินร่วม

เคาน์เตอร์เช็คอินที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ กรุงเทพมหานคร

การบินไทยทำการบินร่วมกับสายการบินดังต่อไปนี้:

อุบัติเหตุ

รางวัลที่ได้รับ

อ้างอิง

  1. "Major Shareholders". Stock Exchange of Thailand. 2007-01-10. สืบค้นเมื่อ 2007-08-16. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  2. คมชัดลึก "บินไทย"คว้าอันดับสอง สุดยอดสายการบินปี50
  3. Thai Airways International Website October 2008
  4. รายละเอียดเครื่องบินตก 2535
  5. รายละเอียดเครื่องบินตก 2541
  6. รายละเอียดเครื่องบินระเบิด 2544

แหล่งข้อมูลอื่น