เกาะญิรบะฮ์

พิกัด: 33°47′N 10°53′E / 33.783°N 10.883°E / 33.783; 10.883
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก เจอร์บา)
เกาะญิรบะฮ์
ภาพถ่ายดาวเทียมของเกาะญิรบะฮ์
เกาะญิรบะฮ์ตั้งอยู่ในตูนิเซีย
เกาะญิรบะฮ์
เกาะญิรบะฮ์
ภูมิศาสตร์
ที่ตั้งอ่าวกอบิส
พื้นที่514 ตารางกิโลเมตร (198 ตารางไมล์)
การปกครอง
เขตผู้ว่าการมะดะนีน
เมืองใหญ่สุดฮูมะตุสซูก (ประชากร 75,904 คน)
ประชากรศาสตร์
ประชากร163,726 (สำมะโน ค.ศ. 2014)
ความหนาแน่น309/กม.2 (800/ตารางไมล์)
กลุ่มชาติพันธุ์ชาวตูนิเซีย (อาหรับ, เติร์ก, เบอร์เบอร์, ยิว และชาวตูนิเซียผิวดำ)
ญิรบะฮ์ : พยานหลักฐานของรูปแบบการตั้งถิ่นฐานในดินแดนเกาะ *
  แหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโก
มัสยิดอัลบัสซี
ประเทศ ตูนิเซีย
ภูมิภาค **รัฐอาหรับ
ประเภทมรดกทางวัฒนธรรม
เกณฑ์พิจารณา(v)
อ้างอิง1640
ประวัติการขึ้นทะเบียน
ขึ้นทะเบียน2023 (คณะกรรมการสมัยที่ 45)
* ชื่อตามที่ได้ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
** ภูมิภาคที่จัดแบ่งโดยยูเนสโก

ญิรบะฮ์ (อาหรับ: جربة) หรือ แจร์บา (ฝรั่งเศส: Djerba; ฮีบรู: ג׳רבה; กรีก: Μῆνιγξ; อิตาลี: Meninge, Girba) เป็นเกาะในประเทศตูนิเซียและเกาะที่ใหญ่ที่สุดในแอฟริกาเหนือที่มีขนาด 514 ตารางกิโลเมตร (198 ตารางไมล์) ในอ่าวกอบิส[1] ริมชายฝั่งประเทศตูนิเซีย เกาะนี้มีประชากร 139,544 คนตามสำมะโน ค.ศ. 2004 ซึ่งเพิ่มขึ้นเป็น 163,726 คนในสำมะโน ค.ศ. 2014 ทางตูนิเซียขอสถานะแหล่งมรดกโลกของยูเนสโกเพื่อคุ้มครองเกาะ โดยอ้างถึงประวัติศาสตร์อันยาวนานและมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว[2] และใน ค.ศ. 2023 เกาะญิรบะฮ์ได้รับการบรรจุเป็นแหล่งมรดกโลกของยูเนสโกอย่างเป็นทางการ[3]

ประวัติ[แก้]

ตำนานระบุว่าเกาะญิรบะฮ์เป็นเกาะคนกินลอโตส[1][4] ที่โอดิสเซียสติดอยู่ขณะเดินทางกลับผ่านทะเลเมดิเตอร์เรเนียน

สมัยโบราณ[แก้]

ภูมิอากาศ[แก้]

เกาะญิรบะฮ์มีสภาพภูมิอากาศทะเลทรายร้อน (การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิพเพิน: BWh)[5] ที่มีขอบเขตกับภูมิอากาศกึ่งแห้งแล้งแบบร้อน (BSh)

ข้อมูลภูมิอากาศของญิรบะฮ์ (ค.ศ. 1981–2010, สูงสุด 1898–ปัจจุบัน)
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 31.8
(89.2)
35.2
(95.4)
35.0
(95)
38.6
(101.5)
43.7
(110.7)
46.0
(114.8)
46.1
(115)
46.3
(115.3)
42.8
(109)
42.3
(108.1)
34.4
(93.9)
28.6
(83.5)
46.3
(115.3)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 16.5
(61.7)
17.8
(64)
20.3
(68.5)
23.1
(73.6)
26.6
(79.9)
30.0
(86)
32.9
(91.2)
33.5
(92.3)
30.9
(87.6)
27.6
(81.7)
22.4
(72.3)
17.8
(64)
24.95
(76.91)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) 12.9
(55.2)
13.7
(56.7)
15.8
(60.4)
18.3
(64.9)
21.8
(71.2)
25.2
(77.4)
27.8
(82)
28.7
(83.7)
26.7
(80.1)
23.4
(74.1)
18.6
(65.5)
14.5
(58.1)
20.62
(69.11)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 9.2
(48.6)
9.6
(49.3)
11.6
(52.9)
14.2
(57.6)
17.5
(63.5)
20.8
(69.4)
23.1
(73.6)
24.3
(75.7)
22.8
(73)
19.5
(67.1)
14.7
(58.5)
11.0
(51.8)
16.53
(61.75)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 0.0
(32)
1.0
(33.8)
4.0
(39.2)
5.0
(41)
6.0
(42.8)
12.0
(53.6)
15.0
(59)
14.0
(57.2)
14.0
(57.2)
10.0
(50)
3.0
(37.4)
1.0
(33.8)
0.0
(32)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 27.4
(1.079)
14.3
(0.563)
15.9
(0.626)
11.8
(0.465)
5.1
(0.201)
1.4
(0.055)
0.3
(0.012)
1.3
(0.051)
20.3
(0.799)
36.2
(1.425)
27.2
(1.071)
41.3
(1.626)
202.5
(7.972)
ความชื้นร้อยละ 69 67 66 66 65 66 63 65 69 68 67 70 67
วันที่มีหยาดน้ำฟ้าโดยเฉลี่ย (≥ 1.0 mm) 3.4 3.1 2.7 1.8 1.1 0.5 0.0 0.1 2.1 3.5 2.8 3.5 24.6
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 207.7 207.2 244.9 264.0 313.1 321.0 375.1 350.3 276.0 248.0 213.0 204.6 3,224.9
แหล่งที่มา 1: Institut National de la Météorologie (วันที่มีหยาดน้ำฟ้า/ความชื้อ/ดวงอาทิตย์ 1961–1990)[6][7][8][note 1]
แหล่งที่มา 2: NOAA (ความชื้นและดวงอาทิตย์ 1961–1990),[10] Meteo Climat (สถิติสูงและต่ำ)[11]
ข้อมูลภูมิอากาศสำหรับเกาะญิรบะฮ์
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ปี
อุณหภูมิทะเลเฉลี่ย °C (°F) 16.0
(61.0)
15.0
(59.0)
16.0
(61.0)
17.0
(63.0)
19.0
(66.0)
22.0
(72.0)
26.0
(79.0)
28.0
(82.0)
27.0
(81.0)
25.0
(77.0)
22.0
(72.0)
18.0
(64.0)
20.9
(69.8)
ชั่วโมงรับแสงรายวันโดยเฉลี่ย 10.0 11.0 12.0 13.0 14.0 14.0 14.0 13.0 12.0 11.0 10.0 10.0 12.0
ดัชนีรังสีอัลตราไวโอเลตเฉลี่ย 3 4 6 8 9 10 11 10 8 6 4 3 6.8
ข้อมูล #1: Weather2Travel (อุณหภูมิทะเล) [12]
ข้อมูล #2: Weather Atlas [13]

หมายเหตุ[แก้]

  1. รหัสระบุสถานีสำหรับเกาะญิรบะฮ์คือ 57070211[9]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1  Chisholm, Hugh, บ.ก. (1911). "Jerba" . สารานุกรมบริตานิกา ค.ศ. 1911. Vol. 15 (11 ed.). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์. p. 322.
  2. Center, UNESCO World Heritage. "Regional Workshop on the World Heritage Nomination Process". UNESCO World Heritage Center. สืบค้นเมื่อ 6 December 2018.
  3. Centre, UNESCO World Heritage. "Djerba: Testimony to a settlement pattern in an island territory". UNESCO World Heritage Centre (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2023-09-24.
  4. Polybius; Strabo 1.2.17.
  5. "World map of Köppen-Geiger climate classification". koeppen-geiger.vu-wien.ac.at. สืบค้นเมื่อ 18 August 2023.
  6. "Les normales climatiques en Tunisie entre 1981 2010" (ภาษาฝรั่งเศส). Ministère du Transport. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 December 2019. สืบค้นเมื่อ 20 January 2020.
  7. "Données normales climatiques 1961–1990" (ภาษาฝรั่งเศส). Ministère du Transport. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 December 2019. สืบค้นเมื่อ 20 January 2020.
  8. "Les extrêmes climatiques en Tunisie" (ภาษาฝรั่งเศส). Ministère du Transport. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 December 2019. สืบค้นเมื่อ 20 January 2020.
  9. "Réseau des stations météorologiques synoptiques de la Tunisie" (ภาษาฝรั่งเศส). Ministère du Transport. สืบค้นเมื่อ 20 January 2020.
  10. "Jerba Climate Normals 1961–1990". National Oceanic and Atmospheric Administration. สืบค้นเมื่อ 24 January 2015.
  11. "Station Djerba" (ภาษาฝรั่งเศส). Météo Climat. สืบค้นเมื่อ 13 July 2017.
  12. "Djerba Climate and Weather Averages, Tunisia". Weather2Travel. สืบค้นเมื่อ 19 July 2014.
  13. "Djerba, Tunisia – Climate data". Weather Atlas. สืบค้นเมื่อ 4 April 2017.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

 บทความนี้เรียบเรียงจากสิ่งพิมพ์ที่เป็นสาธารณสมบัติHerbermann, Charles, บ.ก. (1913). "Girba". สารานุกรมคาทอลิก. New York: Robert Appleton Company.

33°47′N 10°53′E / 33.783°N 10.883°E / 33.783; 10.883