ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ให้พวกเขากินเค้กสิ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
"'''ให้พวกเขากินเค้กสิ'''" เป็นคำแปลที่นิยมใช้กับวลี {{lang|fr|"''Qu'ils mangent de la brioche''"}} ใน[[ภาษาฝรั่งเศส]] <ref>{{Cite web|url=https://translate.yandex.com/?lang=en-fr&text=let%20them%20eat%20brioche|title=Yandex.Translate – EN-FR "Let them eat brioche"|website=translate.yandex.com|access-date=2019-12-20}}</ref> เชื่อกันว่าผู้พูดคือ "เจ้าหญิงผู้ยิ่งใหญ่" พระองค์หนึ่งผู้ดํารงพระชนม์ชีพอยู่ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 หรือ 18 โดยตรัสเช่นนั้นเมื่อคราวที่พระนางได้ทรงทราบว่าราษฎรไม่มีขนมปังจะกิน คําแปลของวลีนี้ที่ตรงกับภาษาต้นฉบับมากกว่าคือ "'''ให้พวกเขากินบรีย็อชสิ'''" เนื่องจากวลีดั้งเดิมในภาษาฝรั่งเศสมิได้ใช้คําว่า[[เค้ก]] ({{lang|fr|''gâteau''}}) แต่ใช้คําว่า[[บรีย็อช]] ({{lang|fr|''brioche''}}) ซึ่งเป็นขนมปังชนิดหนึ่งที่อุดมไปด้วยเนยและไข่ อันถือเป็นอาหารหรูหราในเวลานั้น วลีดังกล่าวถูกนำมาใช้เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงความไม่สนพระทัยของเจ้าหญิงต่อความอดอยากของราษฎร หรือการขาดความเข้าพระทัยของพระนางต่อสภาวการณ์ดังกล่าว
"'''ให้พวกเขากินเค้กสิ'''" เป็นคำแปลที่นิยมใช้กับวลี {{lang|fr|"''Qu'ils mangent de la brioche''"}} ใน[[ภาษาฝรั่งเศส]]<ref>{{Cite web|url=https://translate.yandex.com/?lang=en-fr&text=let%20them%20eat%20brioche|title=Yandex.Translate – EN-FR "Let them eat brioche"|website=translate.yandex.com|access-date=2019-12-20}}</ref> เชื่อกันว่าผู้พูดคือ "เจ้าหญิงผู้ยิ่งใหญ่" พระองค์หนึ่งผู้ดํารงพระชนม์ชีพอยู่ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 หรือ 18 โดยตรัสเช่นนั้นเมื่อคราวที่พระนางได้ทรงทราบว่าราษฎรไม่มีขนมปังจะกิน คําแปลของวลีนี้ที่ตรงกับภาษาต้นฉบับมากกว่าคือ "'''ให้พวกเขากินบรีย็อชสิ'''" เนื่องจากวลีดั้งเดิมในภาษาฝรั่งเศสมิได้ใช้คําว่า[[เค้ก]] ({{lang|fr|''gâteau''}}) แต่ใช้คําว่า[[บรีย็อช]] ({{lang|fr|''brioche''}}) ซึ่งเป็นขนมปังชนิดหนึ่งที่อุดมไปด้วยเนยและไข่ อันถือเป็นอาหารหรูหราในเวลานั้น วลีดังกล่าวถูกนำมาใช้เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงความไม่สนพระทัยของเจ้าหญิงต่อความอดอยากของราษฎร หรือการขาดความเข้าพระทัยของพระนางต่อสภาวการณ์ดังกล่าว


[[ไฟล์:Marie-Antoinette, 1775 - Musée Antoine Lécuyer.jpg|thumb|alt=พระสาทิสลักษณ์ของพระนางมารี อ็องตัวแน็ต|มักเชื่อกันว่าวลีดังกล่าวมีที่มาจาก[[มารี อ็องตัวแน็ต|พระนางมารี อ็องตัวแน็ต]]]]
[[ไฟล์:Marie-Antoinette, 1775 - Musée Antoine Lécuyer.jpg|thumb|alt=พระสาทิสลักษณ์ของพระนางมารี อ็องตัวแน็ต|มักเชื่อกันว่าวลีดังกล่าวมีที่มาจาก[[มารี อ็องตัวแน็ต|พระนางมารี อ็องตัวแน็ต]]]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:29, 28 ธันวาคม 2563

"ให้พวกเขากินเค้กสิ" เป็นคำแปลที่นิยมใช้กับวลี ["Qu'ils mangent de la brioche"] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) ในภาษาฝรั่งเศส[1] เชื่อกันว่าผู้พูดคือ "เจ้าหญิงผู้ยิ่งใหญ่" พระองค์หนึ่งผู้ดํารงพระชนม์ชีพอยู่ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 หรือ 18 โดยตรัสเช่นนั้นเมื่อคราวที่พระนางได้ทรงทราบว่าราษฎรไม่มีขนมปังจะกิน คําแปลของวลีนี้ที่ตรงกับภาษาต้นฉบับมากกว่าคือ "ให้พวกเขากินบรีย็อชสิ" เนื่องจากวลีดั้งเดิมในภาษาฝรั่งเศสมิได้ใช้คําว่าเค้ก ([gâteau] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ)) แต่ใช้คําว่าบรีย็อช ([brioche] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ)) ซึ่งเป็นขนมปังชนิดหนึ่งที่อุดมไปด้วยเนยและไข่ อันถือเป็นอาหารหรูหราในเวลานั้น วลีดังกล่าวถูกนำมาใช้เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงความไม่สนพระทัยของเจ้าหญิงต่อความอดอยากของราษฎร หรือการขาดความเข้าพระทัยของพระนางต่อสภาวการณ์ดังกล่าว

พระสาทิสลักษณ์ของพระนางมารี อ็องตัวแน็ต
มักเชื่อกันว่าวลีดังกล่าวมีที่มาจากพระนางมารี อ็องตัวแน็ต

แม้จะเชื่อกันว่าพระนางมารี อ็องตัวแน็ต เคยตรัสวลีนี้ แต่ก็ไม่มีบันทึกที่น่าเชื่อถือว่าพระนางเคยตรัสเช่นนี้จริง[2]

บรีย็อชก้อนหนึ่ง

อ้างอิง

  1. "Yandex.Translate – EN-FR "Let them eat brioche"". translate.yandex.com. สืบค้นเมื่อ 2019-12-20.
  2. Fraser, Antonia (2002). Marie Antoinette: The Journey. Anchor. pp. xviii, 160. ISBN 978-0385489492.; Lever, Évelyne; Temerson, Catherine (2000). Marie-Antoinette: The Last Queen of France. St. Martin's Griffin. pp. 63–65. ISBN 978-0312283339.; Lanser, Susan S. (2003). "Eating Cake: The (Ab)uses of Marie-Antoinette". ใน Goodman, Dena; Kaiser, Thomas E. (บ.ก.). Marie Antoinette: Writings on the Body of a Queen. Routledge. pp. 273–290. ISBN 978-0415933957.