ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตระกูลภาษาขร้า–ไท"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ตระกูลภาษาขร้า-ไท''' () หรือรู้จักกันในนาม '''ขร้าไท''' ({{lang|en|Kradai}}), '''ไท-กะได''' ({{lang|en|Tai–Kadai}}) หรือ '''กะได''' ({{lang|en|Kadai}}) เป็นของภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์ที่พบใน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]]และตอนใต้ของ[[ประเทศจีน]] ในช่วงแรก ตระกูลภาษาขร้า-ไทเคยถูกกำหนดให้อยู่ใน[[ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต]] แต่ปัจจุบันได้แยกมาเป็นอีกตระกูลภาษาหนึ่ง และยังมีผู้เห็นว่าตระกูลภาษาขร้า-ไทนี้มีความสัมพันธ์กับ[[ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน]] โดยอยู่ในกลุ่มภาษาที่เรียกว่า "ออสโตร-ไท" หรือจัดเป็นตระกูลภาษาใหญ่ออสตริก
{{Infobox language family
|name = ตระกูลภาษาขร้า-ไท
|altname = ขร้าไท, ไท-กะได, กะได
|region = ภาคใต้ของ[[ประเทศจีน|จีน]], [[มณฑลไหหลำ|ไหหลำ]], [[อินโดจีน]] และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ[[ประเทศอินเดีย|อินเดีย]]
|familycolor = Tai-Kadai
|family = หนึ่งใน[[ตระกูลภาษา]]ที่มีผู้พูดมากที่สุดในโลก
|protoname = [[ภาษาขร้า-ไทดั้งเดิม|ขร้า-ไทดั้งเดิม]]
|child1 = [[กลุ่มภาษาขร้า|ขร้า]]
|child2 = [[กลุ่มภาษากัม-ฉุ่ย|กัม-ฉุ่ย]]
|child3 = ''[[กลุ่มภาษาอัง-เบ|อัง-เบ]]''
|child4 = [[กลุ่มภาษาไหล|ไหล]]
|child5 = [[กลุ่มภาษาไท|ไท]] (จ้วง-ไท)
|iso2 = tai
|glotto=taik1256
|map = Taikadai-th.svg
|mapcaption = แผนที่แสดงการกระจายของภาษาตระกูลขร้า-ไท<br>{{Col-begin}}
{{Col-2}}
{{legend|blue|ขร้า}}
{{legend|#DB4FFF|กัม-ฉุ่ย}}
{{legend|#B000A6|เบ}}
{{legend|#80FF00|ไหล}}
{{Col-2}}
{{legend|#FFEC19|ไทเหนือ}}
{{legend|#FF4C00|ไทกลาง}}
{{legend|#FF9D00|ไทตะวันตกเฉียงใต้}}
{{Col-end}}
}}

'''ตระกูลภาษาขร้า-ไท''' ({{lang-en|Kra–Dai languages}}) หรือรู้จักกันในนาม '''ขร้าไท''' ({{lang|en|Kradai}}), '''ไท-กะได''' ({{lang|en|Tai–Kadai}}) หรือ '''กะได''' ({{lang|en|Kadai}}) เป็น[[ตระกูลภาษา]]ของภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์ที่พบใน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]]และตอนใต้ของ[[ประเทศจีน]] ในช่วงแรก ตระกูลภาษาขร้า-ไทเคยถูกกำหนดให้อยู่ใน[[ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต]] แต่ปัจจุบันได้แยกมาเป็นอีกตระกูลภาษาหนึ่ง และยังมีผู้เห็นว่าตระกูลภาษาขร้า-ไทนี้มีความสัมพันธ์กับ[[ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน]] โดยอยู่ในกลุ่มภาษาที่เรียกว่า "ออสโตร-ไท" หรือจัดเป็นตระกูลภาษาใหญ่ออสตริก


รอเจอร์ เบลนช์ (Roger Blench) ได้กล่าวว่า ถ้าข้อจำกัดของความเชื่อมต่อของตระกูลภาษาออสโตร-ไทมีความสำคัญมาก แสดงว่าความสัมพันธ์ทั้งสองตระกูลอาจไม่ใช่ภาษาที่เป็นพี่น้องกัน [[กลุ่มภาษากะได]]อาจเป็นสาขาของภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนที่อพยพจาก[[ฟิลิปปินส์]]ไปสู่[[เกาะไหหลำ]] แล้วแพร่สู่จีนแผ่นดินใหญ่ ในขณะที่สาขาไดของภาษากลุ่มกะไดมีการปรับโครงสร้างใหม่โดยได้รับอิทธิพลจากกลุ่มภาษาม้ง-เมี่ยนและ[[ภาษาจีน]]
รอเจอร์ เบลนช์ (Roger Blench) ได้กล่าวว่า ถ้าข้อจำกัดของความเชื่อมต่อของตระกูลภาษาออสโตร-ไทมีความสำคัญมาก แสดงว่าความสัมพันธ์ทั้งสองตระกูลอาจไม่ใช่ภาษาที่เป็นพี่น้องกัน [[กลุ่มภาษากะได]]อาจเป็นสาขาของภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนที่อพยพจาก[[ฟิลิปปินส์]]ไปสู่[[เกาะไหหลำ]] แล้วแพร่สู่จีนแผ่นดินใหญ่ ในขณะที่สาขาไดของภาษากลุ่มกะไดมีการปรับโครงสร้างใหม่โดยได้รับอิทธิพลจากกลุ่มภาษาม้ง-เมี่ยนและ[[ภาษาจีน]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:39, 31 ตุลาคม 2565

ตระกูลภาษาขร้า-ไท () หรือรู้จักกันในนาม ขร้าไท (Kradai), ไท-กะได (Tai–Kadai) หรือ กะได (Kadai) เป็นของภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์ที่พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และตอนใต้ของประเทศจีน ในช่วงแรก ตระกูลภาษาขร้า-ไทเคยถูกกำหนดให้อยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต แต่ปัจจุบันได้แยกมาเป็นอีกตระกูลภาษาหนึ่ง และยังมีผู้เห็นว่าตระกูลภาษาขร้า-ไทนี้มีความสัมพันธ์กับตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน โดยอยู่ในกลุ่มภาษาที่เรียกว่า "ออสโตร-ไท" หรือจัดเป็นตระกูลภาษาใหญ่ออสตริก

รอเจอร์ เบลนช์ (Roger Blench) ได้กล่าวว่า ถ้าข้อจำกัดของความเชื่อมต่อของตระกูลภาษาออสโตร-ไทมีความสำคัญมาก แสดงว่าความสัมพันธ์ทั้งสองตระกูลอาจไม่ใช่ภาษาที่เป็นพี่น้องกัน กลุ่มภาษากะไดอาจเป็นสาขาของภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนที่อพยพจากฟิลิปปินส์ไปสู่เกาะไหหลำ แล้วแพร่สู่จีนแผ่นดินใหญ่ ในขณะที่สาขาไดของภาษากลุ่มกะไดมีการปรับโครงสร้างใหม่โดยได้รับอิทธิพลจากกลุ่มภาษาม้ง-เมี่ยนและภาษาจีน

โลร็อง ซาการ์ (Laurent Sagart) ได้เสนอว่า ภาษาขร้า-ไทดั้งเดิมได้เกิดขึ้นในยุคต้นของตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนที่อาจจะอพยพกลับจากทางตะวันตกเฉียงเหนือของไต้หวันไปยังชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของจีน หรือจากจีนไปไต้หวันและเกิดการพัฒนาของภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนบนเกาะนี้ ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนกับขร้า-ไทอาจจะอธิบายได้จากคำศัพท์ที่ใกล้เคียงกัน คำยืมในยุคก่อนประวัติศาสตร์และอื่น ๆ ที่ยังไม่รู้ นอกจากนั้นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนอาจจะมีความสัมพันธ์กับตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ซึ่งมีจุดเริ่มต้นในบริเวณชายฝั่งของจีนภาคเหนือและภาคตะวันออก

ความหลากหลายของตระกูลภาษาขร้า-ไทในทางตอนใต้ของประเทศจีนบ่งบอกถึงมีความสัมพันธ์กับถิ่นกำเนิดของภาษา ผู้พูดภาษาสาขาไทอพยพจากตอนใต้ของจีนลงทางใต้เข้าสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แต่ครั้งโบราณ เข้าสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยและลาวบริเวณนี้เป็นบริเวณที่พบผู้พูดภาษาในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก

ชื่อ "ไท-กะได" มาจากการจัดแบ่งตระกูลภาษาออกเป็นสองสาขาคือ "ไท" และ "กะได" ซึ่งเลิกใช้แล้ว เนื่องจากกะไดจะเป็นกลุ่มภาษาที่เป็นไปได้ก็ต่อเมื่อมีกลุ่มภาษาไทรวมอยู่ด้วย ในบางบริบทคำว่ากะไดจึงใช้เรียกตระกูลภาษาขร้า-ไททั้งตระกูล แต่บางบริบทก็จำกัดการใช้คำนี้ให้แคบลง โดยหมายถึงกลุ่มภาษาขร้าที่เป็นส่วนหนึ่งของตระกูลภาษานี้

ภาษาในตระกูล

ตระกูลภาษาขร้า-ไทประกอบด้วยกลุ่มภาษาที่จัดแบ่งไว้ 5 สาขา ดังนี้

กลุ่มภาษาไหล

กลุ่มภาษาขร้า

กลุ่มภาษาไท

กลุ่มภาษากัม-ฉุ่ย

  • กลุ่มภาษาลักเกีย-เบียว (จีนแผ่นดินใหญ่)
  • ภาษากัม-ฉุ่ย (จีนแผ่นดินใหญ่)
    • ภาษาอ้ายจาม (Ai-Cham)
    • Cao Miao
    • ภาษาต้งเหนือ (Northern Dong)
    • ภาษาต้งใต้ (Southern Dong)
    • ภาษาคัง (Kang)
    • Mak
    • ภาษามู่หลาม (Mulam)
    • ภาษาเมาหนาน (Maonan)
    • ภาษาฉุ่ย (Sui)
    • T’en

สาขากัม-ฉุ่ย, เบ และไทมักถูกจัดให้อยู่รวมกันเนื่องจากมีคำศัพท์ที่ใช้ร่วมกันจำนวนมาก (ดูเพิ่มที่กลุ่มภาษากัม-ไท) อย่างไรก็ตามการจัดแบ่งเช่นนี้มีความเห็นที่โต้แย้ง ซึ่งอาจเป็นเพราะมีการแทนที่ศัพท์เข้าไปในสาขาอื่น ความคล้ายกันของระบบหน่วยคำทำให้มีนักภาษาศาสตร์จัดสาขาขร้ากับกัม-ฉุ่ย เป็นกลุ่มขร้า-ไทเหนือทางหนึ่ง และสาขาไหลกับไท เป็นกลุ่มขร้า-ไทใต้อีกทางหนึ่งแทนดังภาพ ตำแหน่งของภาษาอังเบในข้อเสนอดังกล่าวไม่ได้ถูกพิจารณาไปด้วย

ขร้า-ไท
ขร้า-ไทเหนือ

-ขร้า



กัม-ฉุ่ย



ขร้า-ไทใต้

ไหล



ไท


?

อังเบ





เปรียบเทียบคำศัพท์[1]

ไทย ไท เก้อหล่าว จ้วงใต้ ไหล
หมา หมา มเปา หมา ปา
ไฟ ไฟ ไป ไฟ เฝ่ยฺ
หนา หนา นเต้า หนา หนา
เมฆ ฝ้า เป๊า ฝ้า ฝ้า
หิมะ นาย (ไทใหญ่) นไต๊ นาย(น้ำค้าง) -
น้ำค้างแข็ง เหมือย (ลาว) มไปล้ เหมือย -

อ้างอิง

  1. "Ostapirat, W. E. E. R. A. Kadai dummy*-m" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-01-14. สืบค้นเมื่อ 2016-11-04.
  • Edmondson, J.A. and D.B. Solnit eds. 1997. Comparative Kadai: the Tai branch. Dallas: Summer Institute of Linguistics and the University of Texas at Arlington.
  • Ostapirat, Weera. 2005. "Kra-Dai and Austronesian: Notes on phonological correspondences and vocabulary distribution", pp. 107–131 in Sagart, Laurent, Blench, Roger & Sanchez-Mazas, Alicia (eds.), The Peopling of East Asia: Putting Together Archaeology, Linguistics and Genetics. London/New York: Routledge-Curzon.
  • Roger Blench (PDF format)
  • Ethnologue report Retrieved 3 August 2005.
  • ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์กรมหาชน). นิทรรศการถาวร กลุ่มชาติพันธุ์ และโบราณคดี (ชั้น 5)