โฌแซ็ฟ-หลุยส์ ลากร็องฌ์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ศาสตราจารย์ ดร.วิเลิศ ภูริวัชร

คณบดี คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดำรงตำแหน่งคณบดีวาระที่ 2

“วิสัยทัศน์ที่ดีนั้นต้องมีความก้าวล้ำ ไม่ใช่แค่ก้าวทัน และต้องไม่ใช่สิ่งที่เราทำได้ดีอยู่แล้ว แต่ต้องเป็นจุดหมายที่เรายังไม่เคยไปมาก่อนเพื่อท้าทายเราฝันให้ใหญ่ และไปให้ถึงความเป็นเลิศ” จาก..ความเชี่ยวชาญด้านการบริหารธุรกิจและองค์กรจากมหาวิทยาลัยชั้นนำ


ประวัติการศึกษา

● ปริญญาตรี บริหารธุรกิจบัณฑิต(เกียรตินิยม) (สาขาการเงินและการธนาคาร), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

● ปริญญาโท Master of Public and Private Management, Yale University, USA

● ปริญญาโท Master of Business Administration, Yale University, USA

● Certificate in Human Resource Management, Harvard University, USA

● DPhil (Management Studies), University of Oxford, UK


สู่…ความเชี่ยวขาญ ด้านการบริหารธุรกิจและองค์กรจากมหาวิทยาลัยชั้นนำ

–––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––

ประวัติการทำงาน

● ดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์ สาขาบริหารธุรกิจ สังกัดคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่ พ.ศ.2564

● คณบดีคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วาระที่ 1 ตั้งแต่ พ.ศ.2562 ถึง เมษายน 2566

● คณบดีคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วาระที่ 2 ตั้งแต่ พ.ศ.2566 ถึงปัจจุบัน

● อดีตหัวหน้าภาควิชาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี 2 วาระ ปี พ.ศ.2557-2562

● อดีตประธานคณะกรรมการดำเนินงานหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี

● อดีตรองประธานคณะกรรมการดำเนินงานหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี

● อดีตรองประธานกรรมการดำเนินงานหลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี

● อดีตหัวหน้าหน่วยงานสื่อสารองค์กร คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี

● อดีตกรรมการดำเนินงานหลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี

● กรรมการสภามหาวิทยาลัย ตั้งแต่วันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2565 ถึงปัจจุบัน

● คณะกรรมการนโยบายการเงิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

● คณะกรรมการพิจารณากำหนดตำแหน่งเชี่ยวชาญระดับต้น เชี่ยวชาญระดับกลาง และเชี่ยวชาญระดับสูง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

● คณะกรรมการประกันคุณภาพ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

● คณะกรรมการอำนวยการวิเคราะห์กรอบอัตรากำลังของมหาวิทยาลัย

● อดีตผู้อำนวยการหลักสูตรสหสาขาวิชาธุรกิจเทคโนโลยีและการจัดการนวัตกรรม บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


ระดับนานาชาติ

● กรรมการประเมินผลงานคุณภาพระดับโลก AACSB (Association to Advance Collegiate Schools of Business)

● สถาบันรับรองมาตรฐานการศึกษาด้านบริหารธุรกิจ จากสหรัฐอเมริกา

● กรรมการประเมินผลงานคุณภาพระดับโลก EQUIS (EFMD Quality Improvement System)

● สถาบันรับรองมาตรฐานการศึกษาด้านบริหารธุรกิจ จากสหภาพยุโรป

● กรรมการประเมินผลงานคุณภาพระดับโลก AMBA (Association of MBAs)

● สถาบันรับรองมาตรฐานหลักสูตรบริหารธุรกิจระดับบัณฑิตศึกษา จากสหราชอาณาจักร

● ประธานกรรมการวิจัยร่วมกับ The World Economic Forum : WEF ในส่วนของการทำวิจัยในประเทศไทย

● กรรมการตัดสินในงานระดับโลก Youth4South Entrepreneurship Competition at United Nations

โฌแซ็ฟ-หลุยส์ ลากร็องฌ์ (ฝรั่งเศส: Joseph-Louis Lagrange; 25 มกราคม ค.ศ. 1736 - 10 เมษายน ค.ศ. 1813) หรือชื่อเดิมว่า จูเซปเป โลโดวีโก ลากรันจา (อิตาลี: Giuseppe Lodovico Lagrangia) เป็นนักคณิตศาสตร์และนักดาราศาสตร์ชาวอิตาลี ผู้ใช้ชีวิตส่วนใหญ่ของเขาในปรัสเซียและฝรั่งเศส ได้สร้างผลงานสำคัญเกี่ยวกับการวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์ไว้มากมาย รวมถึงทฤษฎีจำนวน กลศาสตร์ดั้งเดิม และกลศาสตร์ท้องฟ้า ตามคำแนะนำของอ็อยเลอร์และดาล็องแบร์ ลากร็องฌ์ได้สืบทอดตำแหน่งของอ็อยเลอร์เมื่อปี ค.ศ. 1766 โดยได้เป็นผู้อำนวยการสาขาคณิตศาสตร์ที่สถาบันวิชาการวิทยาศาสตร์ปรัสเซีย ในกรุงเบอร์ลิน เขาอยู่ที่นี่นานถึง 20 ปี และได้สร้างผลงานต่าง ๆ ไว้เป็นจำนวนมาก รวมถึงได้รับรางวัลด้านวิทยาศาสตร์จากสถาบันวิทยาศาสตร์ฝรั่งเศสอีกหลายรางวัล

ผลงานทางวิทยาศาสตร์[แก้]

ลากรองจ์เป็นหนึ่งในผู้คิดค้นแคลคูลัสของการผันแปร (Calculus of variations) และสมการอ็อยเลอร์-ลากรองจ์ (Euler-Lagrange Equation) นอกจากนี้เขายังขยายวิธีการพิจารณาระบบที่ถูกเงื่อนไขบางอย่างบังคับไว้ (Contrains) กลายเป็นวิธีการที่เรียกว่า ตัวคูณลากรองจ์ (Lagrange multipliers) ลากรองจ์คิดค้นวิธีการแก้สมการเชิงอนุพันธ์ที่รู้จักกันในวิธีการแปรผันของตัวแปรเสริม (Variation of parameters) และการประยุกต์แคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ (Differential calculus) กับทฤษฎีความน่าจะเป็น(Theory of probabilities) รวมถึงการหาผลเฉลยของสมการต่างๆ เขาพิสูจน์ให้เห็นว่าทุกจำนวนธรรมชาติเป็นผลรวมของตัวเลขสี่ตัวที่ยกกำลังสอง (Sum of four squares) และ Theorie des fonctions analytiques ที่เขาคิดค้นยังเป็นทฤษฎีรากฐานสำหรับการศึกษา ทฤษฎีกรุป (group theory) และ anticipating Galois อีกด้วย สำหรับแคลคูลัส ลากรองจ์ได้พัฒนาวิธีการใหม่สำหรับการประมาณช่วงของฟังก์ชันและอนุกรมเทย์เลอร์ เขาศึกษาปัญหาสามวัตถุ (three-body problem) สำหรับอธิบายความสัมพันธ์ของโลก ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ (1764) และศึกษาการเคลื่อนที่ของดาวบริวารของดาวพฤหัสบดี (1766) และในปี 1772 ยังค้นพบว่าการแก้ปัญหากรณีพิเศษเพื่อแก้ไขปัญหานี้ เป็นที่มาจุดดาวเทียม หรือจุดลากรองจ์ (Lagrangian points) แต่ที่สำคัญเขาเป็นที่รู้จักกันดีในเรื่องของกลศาสตร์ที่เขาสามารถเปลี่ยนกลศาสตร์นิวโตเนียน (Newtonian mechanics) เป็นสาขาของการวิเคราะห์กลศาสตร์ลากรองจ์ (Lagrangian mechanics) ที่รู้จักกันในปัจจุบันและถูกนำเสนอเป็น "หลักการ" (principles) อย่างง่ายของแคลคูลัสของการผันแปร (Calculus of variations)

คุณประโยชน์ที่สร้างให้แก่วงการวิทยาศาสตร์[แก้]

ลากร็องฌ์เป็นหนึ่งในผู้ที่พัฒนาแคลคูลัสของการแปรผันขึ้น โดยเป็นการคิดต่อยอดจากสมการอ็อยเลอร์-ลากร็องฌ์

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]