ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2008

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก UEFA Euro 2008)
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2008
Fußball-Europameisterschaft 2008 (เยอรมัน)
Championnat d'Europe de football 2008 (ฝรั่งเศส)
Campionato Europeo di calcio 2008 (อิตาลี)
Campiunadis Europeans da ballape 2008 (โรมานซ์)
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพออสเตรีย
สวิตเซอร์แลนด์
วันที่7–29 มิถุนายน
ทีม16
สถานที่(ใน 8 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติสเปน สเปน (สมัยที่ 2)
รองชนะเลิศธงชาติเยอรมนี เยอรมนี
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน31
จำนวนประตู77 (2.48 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม1,140,902 (36,803 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดสเปน ดาบิด บิยา (4 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมสเปน ชาบี
2004
2012

การแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2008 หรือรู้จักกันในชื่อ ยูโร 2008 (UEFA Euro 2008) เป็นการแข่งขันฟุตบอลยูโร ครั้งที่ 13 จัดขึ้นที่ประเทศออสเตรียและสวิตเซอร์แลนด์ ระหว่างวันที่ 7-29 มิถุนายน พ.ศ.​2551 โดยทีมชาติกรีซเป็นแชมป์การแข่งขันก่อนหน้า การแข่งขันฟุตบอลยูโรครั้งนี้เป็นครั้งที่สองที่มีเจ้าภาพร่วม ถัดจาก ยูโร 2000 ซึ่งมีเบลเยียมและเนเธอร์แลนด์เป็นเจ้าภาพร่วม

ยูโร 2008 รอบสุดท้ายมีทีมเข้าแข่งขันทั้งหมด 16 ทีม โดยออสเตรียและสวิตเซอร์แลนด์ได้สิทธิ์เข้ารอบอัตโนมัติในฐานะเจ้าภาพ ส่วนอีก 14 ทีมจะคัดเลือกโดยเริ่มแข่งขันตั้งแต่เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2549 ผู้ชนะของการแข่งขันคราวนี้จะได้สิทธิไปแข่งขันใน ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2009 ที่จัดขึ้นที่ประเทศแอฟริกาใต้ ในปี พ.ศ. 2552 ซึ่งไม่เป็นการบังคับที่จะต้องเข้าร่วม[1][2]

สนามแข่งขัน[แก้]

ทีมชาติสวิตเซอร์แลนด์จะเล่นรอบแบ่งกลุ่มที่เมืองบาเซิล ส่วนทีมชาติออสเตรียจะเล่นรอบแบ่งกลุ่มที่เวียนนา

เวียนนา คลาเกินฟวร์ท ซัลทซ์บวร์ค อินส์บรุค
Ernst Happel Stadion
ความจุ: 53,295
สนามเหย้า: ทีมชาติออสเตรีย
(FK ออสเตรีย Wien และ SK Rapid Wien)
Hypo-Arena
ความจุ: 31,957
สนามเหย้า: SK ออสเตรีย Kärnten
Wals Siezenheim Stadion
ความจุ: 31,020
สนามเหย้า: เร็ดบุลซัลทซ์บวร์ค
Tivoli Neu
ความจุ: 31,600
สนามเหย้า: SK ออสเตรีย Kärnten
บาเซิล แบร์น เจนีวา ซูริก
St. Jakob-Park
ความจุ: 42,000
สนามเหย้า: FC Basel
Stade de Suisse
ความจุ: 31,907
สนามเหย้า: BSC Young Boys
Stade de Genève
ความจุ: 31,228
สนามเหย้า: Servette FC
Letzigrund
ความจุ: 30,000
สนามเหย้า: FC Zürich
กราสฮอปเปอร์

รอบคัดเลือก[แก้]

ทีมที่เข้ารอบ[แก้]

ประเทศ เงื่อนไขการเข้ารอบ วันที่เข้ารอบ การเข้าแข่งขันครั้งก่อนๆ
ธงชาติออสเตรีย ออสเตรีย เจ้าภาพ 12 ธันวาคม 2002 ยังไม่เคยเข้าร่วมแข่งขัน
ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ เจ้าภาพ 12 ธันวาคม 2002 2 (1996,2004)
ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์ กลุ่ม A 17 พฤศจิกายน 2007 ยังไม่เคยเข้าร่วมแข่งขัน
ธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกส กลุ่ม A 22 พฤศจิกายน 2007 4 (1984,1996,2000,2004)
ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส กลุ่ม B 17 พฤศจิกายน 2007 6 (1960,1984,1992,1996,2000,2004)
ธงชาติอิตาลี อิตาลี กลุ่ม B 17 พฤศจิกายน 2007 6 (1968,1980,1988,1996,2000,2004)
ธงชาติกรีซ กรีซ กลุ่ม C 17 ตุลาคม 2007 2 (1980,2004)
ธงชาติตุรกี ตุรกี กลุ่ม C 22 พฤศจิกายน 2007 2 (1996,2000)
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี กลุ่ม D 13 ตุลาคม 2007 9 (19721,19761,19801,19841,19881,1992,1996,2000,2004)
ธงชาติเช็กเกีย เช็กเกีย กลุ่ม D 17 ตุลาคม 2007 6 (19602,19762,19802,1996,2000,2004)
ธงชาติโครเอเชีย โครเอเชีย กลุ่ม E 17 พฤศจิกายน 2007 2 (1996,2004)
ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย กลุ่ม E 22 พฤศจิกายน 2007 8 (19603,19643,19683,19723,19883,19924,1996,2004)
ธงชาติสเปน สเปน กลุ่ม F 17 พฤศจิกายน 2007 7 (1964,1980,1984,1988,1996,2000,2004)
ธงชาติสวีเดน สวีเดน กลุ่ม F 22 พฤศจิกายน 2007 3 (1992,2000,2004)
ธงชาติโรมาเนีย โรมาเนีย กลุ่ม G 17 ตุลาคม 2007 3 (1984,1996,2000)
ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ กลุ่ม G 17 พฤศจิกายน 2007 7 (1976,1980,1988,1992,1996,2000,2004)
1 ในฐานะเยอรมนีตะวันตก
2 ในฐานะเชโกสโลวาเกีย
3 ในฐานะสหภาพโซเวียต
4 ในฐานะเครือรัฐเอกราช (CIS)
  • ตัวหนาหมายถึงชนะเลิศการแข่งขันครั้งนั้นด้วย


ผลการแข่งขัน[แก้]

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

กลุ่ม A[แก้]

ทีม แต้ม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย รวม
ธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกส 3 2 0 1 5 3 +2 6
ธงชาติตุรกี ตุรกี 3 2 0 1 5 5 0 6
ธงชาติเช็กเกีย เช็กเกีย 3 1 0 2 4 6 −2 3
ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ 3 1 0 2 3 3 0 3
width=25%
7 มิถุนายน 2551
สวิตเซอร์แลนด์ ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์ 0 – 1 ธงชาติเช็กเกีย เช็กเกีย
โปรตุเกส ธงชาติโปรตุเกส 2 – 0 ธงชาติตุรกี ตุรกี
11 มิถุนายน 2551
เช็กเกีย ธงชาติเช็กเกีย 1 – 3 ธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกส
สวิตเซอร์แลนด์ ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์ 1 – 2 ธงชาติตุรกี ตุรกี
15 มิถุนายน 2551
สวิตเซอร์แลนด์ ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์ 2 – 0 ธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกส
ตุรกี ธงชาติตุรกี 3 – 2 ธงชาติเช็กเกีย เช็กเกีย

หมายเหตุเกี่ยวกับการที่แต้มเสมอกัน
  • โปรตุเกสและตุรกีถูกจัดอันดับตามผลการแข่งขันของนัดที่ทั้งสองทีมแข่งกัน (head-to-head)
  • สาธารณรัฐเช็กและสวิตเซอร์แลนด์ถูกจัดอันดับตามผลการแข่งขันของนัดที่ทั้งสองทีมแข่งกัน

กลุ่ม B[แก้]

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2008 กลุ่ม B

width=25%
8 มิถุนายน 2551
ออสเตรีย ธงชาติออสเตรีย 0 – 1 ธงชาติโครเอเชีย โครเอเชีย
เยอรมนี ธงชาติเยอรมนี 2 – 0 ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์
12 มิถุนายน 2551
โครเอเชีย ธงชาติโครเอเชีย 2 – 1 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี
ออสเตรีย ธงชาติออสเตรีย 1 – 1 ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์
16 มิถุนายน 2551
โปแลนด์ ธงชาติโปแลนด์ 0 – 1 ธงชาติโครเอเชีย โครเอเชีย
ออสเตรีย ธงชาติออสเตรีย 0 – 1 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี

หมายเหตุเกี่ยวกับการที่แต้มเสมอกัน
  • ออสเตรียและโปแลนด์ถูกจัดอันดับตามผลต่างประตูได้เสียเนื่องจากผลการแข่งขันของนัดที่ทั้งสองทีมแข่งกันนั้นเสมอกัน

กลุ่ม C[แก้]

นัดการแข่งขันระหว่างอิตาลีและเนเธอร์แลนด์

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2008 กลุ่ม C

width=25%
9 มิถุนายน 2551
โรมาเนีย ธงชาติโรมาเนีย 0 – 0 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
เนเธอร์แลนด์ ธงชาติเนเธอร์แลนด์ 3 – 0 ธงชาติอิตาลี อิตาลี
13 มิถุนายน 2551
อิตาลี ธงชาติอิตาลี 1 – 1 ธงชาติโรมาเนีย โรมาเนีย
เนเธอร์แลนด์ ธงชาติเนเธอร์แลนด์ 4 – 1 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
17 มิถุนายน 2551
เนเธอร์แลนด์ ธงชาติเนเธอร์แลนด์ 2 – 0 ธงชาติโรมาเนีย โรมาเนีย
ฝรั่งเศส ธงชาติฝรั่งเศส 0 – 2 ธงชาติอิตาลี อิตาลี

กลุ่ม D[แก้]

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2008 กลุ่ม D

width=25%
10 มิถุนายน 2551
สเปน ธงชาติสเปน 4 – 1 ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย
กรีซ ธงชาติกรีซ 0 – 2 ธงชาติสวีเดน สวีเดน
14 มิถุนายน 2551
สวีเดน ธงชาติสวีเดน 1 – 2 ธงชาติสเปน สเปน
กรีซ ธงชาติกรีซ 0 – 1 ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย
18 มิถุนายน 2551
กรีซ ธงชาติกรีซ 1 – 2 ธงชาติสเปน สเปน
รัสเซีย ธงชาติรัสเซีย 2 – 0 ธงชาติสวีเดน สวีเดน

รอบน็อกเอาต์[แก้]

รอบน็อกเอาต์ในการแข่งขันครั้งนี้ แตกต่างจากครั้งที่ผ่านๆ มา โดยทีมในกลุ่ม A และ B จะถูกแยกจากทีมกลุ่ม C และ D จนกว่าจะถึงรอบชิงชนะเลิศ ซึ่งทำให้โอกาสที่สองทีมจากกลุ่มเดียวกันจะได้พบกันอีกครั้งในรอบน็อกเอาต์ และเป็นไปไม่ได้ที่จะมีนัดชิงชนะเลิศจากสองทีมจากฝั่งเดียวกัน (A-B และ C-D) นอกจากนี้ การเปลี่ยนแปลงหลักอีกอย่างหนึ่ง สำหรับการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป คือมีเพียงสองสนามเท่านั้น ที่จะใช้ในการแข่งขันรอบน็อกเอาต์ทั้งเจ็ดนัด คือซังคต์ยาคอบพาร์คที่บาเซิล และสนามกีฬาแอนสท์ฮัพเพลที่เวียนนา[3]

รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
                   
19 มิถุนายน - บาเซิล        
 ธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกส  2
25 มิถุนายน - บาเซิล
 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี  3  
 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี  3
20 มิถุนายน - เวียนนา
     ธงชาติตุรกี ตุรกี  2  
 ธงชาติโครเอเชีย โครเอเชีย  1 (1)
29 มิถุนายน - เวียนนา
 ธงชาติตุรกี ตุรกี (จุดโทษ)  1 (3)  
 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี  0
21 มิถุนายน - บาเซิล    
   ธงชาติสเปน สเปน  1
 ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์  1
26 มิถุนายน - เวียนนา
 ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย (ต่อเวลา)  3  
 ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย  0
22 มิถุนายน - เวียนนา
     ธงชาติสเปน สเปน  3  
 ธงชาติสเปน สเปน (จุดโทษ)  0 (4)
 ธงชาติอิตาลี อิตาลี  0 (2)  
 

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

เยอรมนี ธงชาติเยอรมนี0–1ธงชาติสเปน สเปน
Report เฟร์นันโด ตอร์เรส Goal 33'
ผู้ชม: 51,428อ้างอิงผิดพลาด: พารามิเตอร์ในป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง

สถิติ[แก้]

ผู้ทำประตู[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "2005/2006 season: final worldwide matchday to be 14 May 2006". FIFA.com. 19 December 2004. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-06-15. สืบค้นเมื่อ 2008-06-14.
  2. ถ้าทีมชาติอิตาลีชนะการแข่งขัน ทีมรองชนะเลิศจะเข้าร่วมการแข่งขันคอนเฟเดอเรชันส์คัพแทน เนื่องจากทีมอิตาลีผ่านในฐานะผู้ชนะเลิศฟุตบอลโลก 2006
  3. "Euro-Format means group rivals cannot meet again in final". Yahoo! Sports. 2008-06-03. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-06-25. สืบค้นเมื่อ 2008-06-03. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  4. "Rosetti 'delighted' to referee final". UEFA.com. Union of European Football Associations. 24 June 2008. สืบค้นเมื่อ 17 September 2014.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]