ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Kuala Lumpur International Airport)
ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์
ข้อมูลสำคัญ
การใช้งานสาธารณะ
เจ้าของคาซานะห์ นาชั่นนาล
ผู้ดำเนินงานกัวลาลัมเปอร์ แอร์พอร์ต
พื้นที่บริการหุบเขากลัง; รัฐเซอลาโงร์, รัฐเนอเกอรีเซิมบีลัน และรัฐมะละกา
สถานที่ตั้งอำเภอเซอปัง, รัฐเซอลาโงร์, ประเทศมาเลเซีย
วันที่เปิดใช้งาน27 มิถุนายน 1998; 25 ปีก่อน (1998-06-27)
ฐานการบิน
เขตเวลาMST (UTC+08:00)
ความสูงเหนือระดับน้ำทะเล21 เมตร / 70 ฟุต
พิกัด02°44′36″N 101°41′53″E / 2.74333°N 101.69806°E / 2.74333; 101.69806พิกัดภูมิศาสตร์: 02°44′36″N 101°41′53″E / 2.74333°N 101.69806°E / 2.74333; 101.69806
เว็บไซต์www.klia.com.my
KUL/WMKKตั้งอยู่ในประเทศมาเลเซีย
KUL/WMKK
KUL/WMKK
KUL/WMKKตั้งอยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
KUL/WMKK
KUL/WMKK
KUL/WMKKตั้งอยู่ในทวีปเอเชีย
KUL/WMKK
KUL/WMKK
แผนที่
ทางวิ่ง
ทิศทาง ความยาว พื้นผิว
เมตร ฟุต
14L/32R 4,124 แอสฟอลต์คอนกรีต
14R/32L 4,000 แอสฟอลต์คอนกรีต
15/33 3,960 แอสฟอลต์คอนกรีต
สถิติ (2023)
ผู้โดยสาร47,224,000 (เพิ่มขึ้น85.9%)
ผู้โดยสารในประเทศ14,664,000 (เพิ่มขึ้น31.8%)
ผู้โดยสารต่างประเทศ32,560,000 (เพิ่มขึ้น128.1%)
จำนวนเที่ยวบิน319,026 (เพิ่มขึ้น 60.9%)
การขนส่ง (ตัน)660,040 (เพิ่มขึ้น 30.7%)(2022)
ข้อมูล: MAHB[1]

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ (มลายู: Lapangan Terbang Antarabangsa Kuala Lumpur) ตั้งอยู่ที่เขตเซปัง รัฐเซอลาโงร์ ประเทศมาเลเซีย ห่างจากตัวเมืองกัวลาลัมเปอร์ประมาณ 50 กิโลเมตร เปิดดำเนินการเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2541 เพื่อใช้เป็นท่าอากาศยานหลัก แทน ท่าอากาศยานสุลต่านอับดุล อาซิส ซาห์ (ซูบัง) ซึ่งตั้งห่างอยู่ทางทิศเหนือ (ปัจจุบันเปิดทำการในสายภายในประเทศ และเครื่องบินขนาดเล็ก) และเป็นท่าอากาศยานหลักของมาเลเซียแอร์ไลน์, มาเลเซียแอร์ไลน์คาร์โก และแอร์เอเชีย

ได้รับรางวัลท่าอากาศยานที่ดีที่สุด จาก (AETRA awards) ปี 2005 และ (ACI-ASQ awards) ปี 2006[2]

อาคารผู้โดยสาร และสายการบิน[แก้]

Airplanes at Contact Pier

มีแนวความคิดในการวางผัง คือ "ท่าอากาศยานในป่า ป่าในท่าอากาศยาน" ท่าอากาศยานได้ผนวกเทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวก พื้นที่สีเขียว และสิ่งแวดล้อมเข้าในส่วนของการออกแบบ ได้แก่ สวนป่าภายในอาคารผู้โดยสาร และที่จอดรถที่ถูกคลุมด้วยสวนหลังคา การเชื่อมโยงอาคารผู้โดยสารสองหลังด้วยรถไฟความเร็วสูง (Aerotrain)

สวนป่าภายในอาคารผู้โดยสาร ของท่าอากาศยานนานาชาติ กัวลาลัมเปอร์
อาคารที่จอดรถที่ถูกคลุมด้วยสวนหลังคาและสวน
รถไฟเชื่อมระหว่างสองอาคารผู้โดยสาร
สายการบิน จุดหมายปลายทาง Terminal
กาตาร์แอร์เวย์ โดฮา แซตเทิลไลต์
การบินไทย กรุงเทพฯ-สุวรรณภูมิ แซตเทิลไลต์
การูดาอินโดนีเซีย จาการ์ตา-ซูการ์โน ฮัตตา แซตเทิลไลต์
คาเธย์แปซิฟิก ฮ่องกง แซตเทิลไลต์
คูเวตแอร์เวย์ คูเวต, จาการ์ตา-ซูการ์โน ฮัตตา แซตเทิลไลต์
เคแอลเอ็ม จาการ์ตา-ซูการ์โน ฮัตตา, อัมสเตอร์ดัม แซตเทิลไลต์
โคเรียนแอร์ โซล-อินชอน แซตเทิลไลต์
เจแปนแอร์ไลน์ โตเกียว-นะริตะ แซตเทิลไลต์
เจ็ตสตาร์เอเชียแอร์เวย์ สิงคโปร์ แซตเทิลไลต์
ไชนาเซาเทิร์นแอร์ไลน์ กว่างโจว แซตเทิลไลต์
ไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์ อู่ฮั่น แซตเทิลไลต์
ไชนาแอร์ไลน์ ไทเป-เถาหยวน แซตเทิลไลต์
ซาอุเดีย ญิดดะฮ์, มะดีนะฮ์, ริยาด แซตเทิลไลต์
ซิลค์แอร์ สิงคโปร์ แซตเทิลไลต์
เซบูแปซิฟิก มะนิลา เคแอลไอเอ 2
เซี่ยงไฮ้แอร์ไลน์ เซี่ยงไฮ้-ผู่ตง แซตเทิลไลต์
เซี่ยเหมินแอร์ไลน์ เซี่ยเหมิน, ต้าเหลียน, เทียนจิน, ฝูโจว แซตเทิลไลต์
เตอร์กิชแอร์ไลน์ อิสตันบูล-อะตาเติร์ก แซตเทิลไลต์
เติร์กเมนิสถานแอร์ไลน์ อาชกาบัต แซตเทิลไลต์
ไทยแอร์เอเชีย กรุงเทพฯ-ดอนเมือง, หาดใหญ่,กรุงเทพฯ-สุวรรณภูมิ เคแอลไอเอ 2
ไทเกอร์แอร์ สิงคโปร์ เคแอลไอเอ 2
เนปาลแอร์ไลน์ กาฐมาณฑุ แซตเทิลไลต์
บริติชแอร์เวย์ ลอนดอน-ฮีทโธรว์ (เริ่ม 28 พฤษภาคม 2558) แซตเทิลไลต์
บางกอกแอร์เวย์ เกาะสมุย(ยกเลิกไปก่อน และจะกลับมาในอนาคต)​ หาดใหญ่(อนาคต) แซตเทิลไลต์
บิมานบังกลาเทศแอร์ไลน์ ธากา แซตเทิลไลต์
ปากีสถานอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์ การาจี, เปศวาร์, ละฮอร์ แซตเทิลไลต์
ฟลายนาส ญิดดะฮ์ แซตเทิลไลต์
มาลินโดแอร์ กรุงเทพฯ-ดอนเมือง, กาฐมาณฑุ, กูชิง, โกตากีนาบาลู, โกตาบารู, โคชิ, จาการ์ตา-ซูการ์โน ฮัตตา, จิตตะกอง, เดนปาซาร์, เดลี, ติรูชิราปัลลิ, ธากา, บันดุง, ปีนัง, มุมไบ, ลังกาวี, วิสาขปัตนัม, สิงคโปร์ เคแอลไอเอ 2
มาเลเซียแอร์ไลน์ กรุงเทพฯ-สุวรรณภูมิ, กวนตัน, กว่างโจว, กัวลาเตอเริงกานู, กาฐมาณฑุ, กูชิง, โกตากีนาบาลู, โกตาบารู, คุนหมิง, โคชิ, โคลัมโบ, จาการ์ตา-ซูการ์โน ฮัตตา, เจนไน, ซันดากัน, ซิบู, เซี่ยเหมิน, ดาร์วิน, ตาเวา, ไทเป-เถาหยวน, บังคาลอร์, บันดาร์เซอรีเบอกาวัน, บินตูลู, ปีนัง, พนมเปญ, ภูเก็ต, มะนิลา, มาเล, มิรี, เมดัน, โจโฮร์บะฮ์รู, ย่างกุ้ง, ลังกาวี, ลาบวน, สิงคโปร์, เสียมราฐ, อลอร์สตาร์, ฮานอย, โฮจิมินห์ซิตี, ไฮเดอราบาด Main
มาเลเซียแอร์ไลน์ กาฐมาณฑุ, ซิดนีย์, เซี่ยงไฮ้-ผู่ตง, โซล-อินชอน, ญิดดะฮ์, ดูไบ-อินเตอร์เนชันแนล, เดนปาซาร์, เดลี, โตเกียว-นะริตะ, ธากา, บริสเบน, ปักกิ่ง-แคปิตอล, ปารีส-ชาร์ลเดอโกล, เพิร์ท, แฟรงก์เฟิร์ต, มุมไบ, เมลเบิร์น, ลอนดอน-ฮีทโธรว์, ออกแลนด์, อัมสเตอร์ดัม, อิสตันบูล-อะตาเติร์ก, แอดิเลด, โอซะกะ-คันไซ, ฮ่องกง แซตเทิลไลต์
มาฮานแอร์ เตหะราน-อิหม่ามโคไมนี แซตเทิลไลต์
เมกามัลดีฟส์ มาเล เคแอลไอเอ 2
เมียนมาร์แอร์เวย์อินเตอร์เนชันแนล ย่างกุ้ง แซตเทิลไลต์
ยูไนเต็ดแอร์เวย์ ธากา แซตเทิลไลต์
เยเมเนีย จาการ์ตา-ซูการ์โน ฮัตตา, ซานา, ดูไบ-อินเตอร์เนชันแนล แซตเทิลไลต์
รอยัลจอร์แดเนียน กรุงเทพฯ-สุวรรณภูมิ, อัมมาน-ควีนอาเลีย แซตเทิลไลต์
รอยัลบรูไนแอร์ไลน์ บันดาร์เซอรีเบอกาวัน แซตเทิลไลต์
รีเจนต์แอร์เวย์ ธากา แซตเทิลไลต์
ลุฟท์ฮันซา จาการ์ตา-ซูการ์โน ฮัตตา, แฟรงก์เฟิร์ต แซตเทิลไลต์
ไลออนแอร์ จาการ์ตา-ซูการ์โน ฮัตตา เคแอลไอเอ 2
เวียดนามแอร์ไลน์ ฮานอย, โฮจิมินห์ซิตี แซตเทิลไลต์
ศรีลังกันแอร์ไลน์ โคลัมโบ แซตเทิลไลต์
สิงคโปร์แอร์ไลน์ สิงคโปร์ แซตเทิลไลต์
ออลนิปปอนแอร์เวย์ โตเกียว-นะริตะ (เริ่ม 1 กันยายน 2558) แซตเทิลไลต์
อินโดนีเซียแอร์เอเชีย จาการ์ตา-ซูการ์โน ฮัตตา, ซูราบายา, เดนปาซาร์, บันดุง, เมดัน เคแอลไอเอ 2
อิรักคิแอร์เวย์ แบกแดด แซตเทิลไลต์
อิหร่านอาเซมันแอร์ไลน์ เตหะราน-อิหม่ามโคไมนี แซตเทิลไลต์
อิหร่านแอร์ เตหะราน-อิหม่ามโคไมนี แซตเทิลไลต์
อียิปต์แอร์ กรุงเทพฯ-สุวรรณภูมิ, ไคโร แซตเทิลไลต์
อีวีเอแอร์ ไทเป-เถาหยวน แซตเทิลไลต์
อุซเบกิสถานแอร์เวย์ ทาชเคนต์ แซตเทิลไลต์
เอติฮัดแอร์เวย์ อาบูดาบี แซตเทิลไลต์
เอธิโอเปียนแอร์ไลน์ กรุงเทพฯ-สุวรรณภูมิ, อาดดิสอาบาบา แซตเทิลไลต์
เอมิเรตส์ ดูไบ-อินเตอร์เนชันแนล, เมลเบิร์น แซตเทิลไลต์
แอร์โคเรียว เปียงยาง แซตเทิลไลต์
แอร์ไชนา ปักกิ่ง-แคปิตอล (เริ่ม 25 ตุลาคม 2558) แซตเทิลไลต์
แอร์ฟรานซ์ ปารีส-ชาร์ลเดอโกล แซตเทิลไลต์
แอร์มอริเชียส มอริเชียส แซตเทิลไลต์
แอร์อัสตานา อัลมาตี แซตเทิลไลต์
แอร์อินเดียเอ็กซ์เพรส เจนไน, มุมไบ แซตเทิลไลต์
แอร์เอเชีย อู่ตะเภา (เริ่มอีกครั้ง 17 มิ.ย. 67), กระบี่, กรุงเทพฯร-ดอนเมือง, กว่างโจว, กัวลาเตอเริงกานู, กุ้ยหลิน, กูชิง, โกตากีนาบาลู, โกตาบารู, โกลกาตา, คลาร์ก, คาลิโบ, คุนหมิง, โคชิ, จาการ์ตา-ซูการ์โน ฮัตตา, เจนไน, เชียงใหม่, ซันดากัน, ซิบู, เซบู, ซูราบายา, เซอมารัง, เซินเจิ้น, โซโล, ดานัง, เดนปาซาร์, ตาเวา, ติรูชิราปัลลิ, เนปยีดอ, บังคาลอร์, บันดาร์เซอรีเบอกาวัน, บันดาอาเจะฮ์, บันดุง, บาลิก์ปาปัน, บินตูลู, ปกันบารู, ปาดัง, ปาเล็มบัง, ปีนัง, พนมเปญ, ภูเก็ต, มากัสซาร์, มาเก๊า, มิรี, เมดัน, ยกยาการ์ตา, โจโฮร์บะฮ์รู, ย่างกุ้ง, ลอมบอก, ลังกาวี, ลาบวน, เวียงจันทน์, สิงคโปร์, เสียมราฐ, หนานหนิง, อลอร์สตาร์, ฮ่องกง, ฮานอย, โฮจิมินห์ซิตี, ไฮเดอราบาด , หัวหิน เคแอลไอเอ 2
แอร์เอเชียเซสต์ มะนิลา เคแอลไอเอ 2
แอร์เอเชีย เอกซ์ กาฐมาณฑุ, โกลด์โคสต์, โคลัมโบ, ฉงชิ่ง, เฉิงตู, ซิดนีย์, ซีอาน, เซี่ยงไฮ้-ผู่ตง, โซล-อินชอน, ญิดดะฮ์, โตเกียว-นะริตะ, โตเกียว-ฮะเนะดะ, ไทเป-เถาหยวน, ปักกิ่ง-แคปิตอล, ปูซาน, เพิร์ท, เมลเบิร์น, หางโจว, โอซะกะ-คันไซ, โฮโนลูลู, กรุงเทพฯ-สุวรรณภูมิ เคแอลไอเอ 2
โอมานแอร์ มัสกัต, สิงคโปร์ (เริ่ม 29 มีนาคม 2558) แซตเทิลไลต์

เส้นทางการบินในอดีต[แก้]

สายการบิน จุดหมายปลายทาง
แอร์เอเชีย หาดใหญ่,สุราษฎร์ธานี,หัวหิน,อุดรธานี,เชียงราย
มาเลเซียแอร์ไลน์ กระบี่,เชียงใหม่,หาดใหญ่,ลอสแอนเจลิส,นิวยอร์ก,ดูไบ
ไทยสมายล์ กรุงเทพ-สุวรรณภูมิ
ไทยแอร์เอเชีย เชียงราย
แอร์เอเชีย เอกซ์ มุมไบ,นิวเดลี,ปารีส,ลอนดอน
ไทยไลอ้อนแอร์ กรุงเทพ-ดอนเมือง
สายการบิน จุดหมายปลายทาง Terminal
Cargolux Baku, Chennai, Luxembourg, Singapore Cargo
China Airlines Cargo Penang, Taipei-Taoyuan Cargo
China Eastern Cargo Shanghai-Pudong Cargo
Coyne Airways Cargo
DHL Cargo
Eva Air Cargo Taipei-Taoyuan Cargo
FedEx Express Anchorage, Cebu, Los Angeles, Penang, Singapore, Subic Bay, Tokyo-Narita Cargo
Gading Sari Cargo
Indian Airlines Cargo Chennai Cargo
Japan Airlines Cargo Singapore, Tokyo-Narita, Bangkok-Suvarnabhumi, Manila[3] Cargo
Jet Airways Cargo Chennai Cargo
KLM Cargo Amsterdam, Jakarta, Penang, Singapore Cargo
Korean Air Cargo Seoul-Incheon Cargo
Lufthansa Cargo Bangkok-Suvarnabhumi, Chennai, Frankfurt Cargo
MASkargo Amsterdam, Basel, Dubai, Frankfurt, Hong Kong, Melbourne, Milan-Malpensa, Shanghai-Pudong, Sydney, Taipei-Taoyuan, Tashkent,[4] Tokyo-Narita[5] Cargo
Nippon Cargo Airlines Osaka-Kansai, Tokyo-Narita Cargo
Republic Express Unknown Cargo
Singapore Airlines Cargo Singapore Cargo
TNT Airways Cargo
Transmile Air Services Anchorage, Bangalore, Chennai, Cincinnati/Northern Kentucky, Hong Kong, Jakarta, Johor Bahru, Kota Kinabalu, Kuching, Luik, Malmo, Manila, Medan, Mumbai, Nagoya, Nanjing, Osaka-Kansai, Penang, Riverside, Shanghai, Shenzen, Singapore, Tokyo-Narita, Taipei-Taoyuan[6][7] Cargo
Tri-MG Intra Asia Airlines Jakarta-Halim[8] Cargo
UPS Airlines Anchorage, Cologne/Bonn, Dubai, Penang, Singapore Cargo

อ้างอิง[แก้]

  1. Traffic Snapshot listedcompany.com December 2022
  2. [1]
  3. JAL Cargo Schedule
  4. MasKargo Tashkent
  5. MASKargo Route Map
  6. "Fifth freedoms throw open cargo doors". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-06-24. สืบค้นเมื่อ 2009-02-21.
  7. "Transmile Routes". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-12-27. สืบค้นเมื่อ 2009-02-21.
  8. Tri MG

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]