ICD-10 บทที่ 17: รูปผิดปกติแต่กำเนิด รูปพิการ และความผิดปกติของโครโมโซม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
บัญชีจำแนกโรค ICD-10
A00-B99 โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรค
C00-D48 เนื้องอก
D50-D89 เลือดและอวัยวะสร้างเลือด
E00-E90 ต่อมไร้ท่อ โภชนาการ และเมตะบอลิซึม
F00-F99 ความผิดปกติทางจิตและพฤติกรรม
G00-G99 ระบบประสาท
H00-H59 ตาและอวัยวะเคียงลูกตา
H60-H95 หูและปุ่มกระดูกกกหู
I00-I99 ระบบไหลเวียนโลหิต
J00-J99 ระบบหายใจ
K00-K93 ระบบย่อยอาหาร
L00-L99 ผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง
M00-M99 กล้ามเนื้อโครงร่างและเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
N00-N99 ระบบสืบพันธุ์และระบบปัสสาวะ
O00-O99 การตั้งครรภ์ การคลอด และระยะหลังคลอด
P00-P96 ภาวะบางอย่างที่เริ่มต้นในระยะปริกำเนิด
Q00-Q99 รูปพิการและความผิดปกติของโครโมโซม
R00-R99 ความผิดปกติจากทางคลินิกและห้องปฏิบัติการ
S00-T98 การบาดเจ็บ การเป็นพิษ และอุบัติเหตุ
V01-Y98 สาเหตุภายนอก
Z00-Z99 ปัจจัยที่มีผลต่อสถานะสุขภาพ
U00-U99 รหัสเพื่อวัตถุประสงค์พิเศษ

ICD-10 บทที่ 17: รูปผิดปกติแต่กำเนิด รูปพิการ และความผิดปกติของโครโมโซม เป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2535 โดยมีวัตถุประสงค์ในการจัดประเภทการเจ็บป่วยตามเกณฑ์เพื่อใช้บันทึกเพื่อรวบรวมเป็นข้อมูลทางสถิติในการวางแผนสุขภาพในระดับสากล

Q00-Q89 - รูปผิดปกติแต่กำเนิด และรูปพิการ[แก้]

(Q00-Q07) รูปผิดปกติแต่กำเนิดของระบบประสาท[แก้]

(Q10-Q18) รูปผิดปกติแต่กำเนิดของตา หู หน้า และคอ[แก้]

(Q20-Q28) รูปผิดปกติแต่กำเนิดของระบบไหลเวียนโลหิต[แก้]

(Q30-Q34) รูปผิดปกติแต่กำเนิดของระบบหายใจ[แก้]

(Q35-Q37) ปากแหว่งและเพดานโหว่[แก้]

(Q38-Q45) รูปผิดปกติแต่กำเนิดแบบอื่นของระบบย่อยอาหาร[แก้]

(Q50-Q56) รูปผิดปกติแต่กำเนิดของอวัยวะสืบพันธุ์[แก้]

(Q60-Q64) รูปผิดปกติแต่กำเนิดของระบบปัสสาวะ[แก้]

(Q65-Q79) รูปผิดปกติแต่กำเนิดของระบบกล้ามเนื้อและโครงร่าง[แก้]

(Q80-Q89) รูปผิดปกติแต่กำเนิดแบบอื่น[แก้]

Q90-Q99 - ความผิดปกติของโครโมโซม มิได้จำแนกไว้ที่ใด[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]