ไกลซีน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Glycine)
ไกลซีน[1]
ชื่อ
IUPAC name
Glycine
ชื่ออื่น
Aminoethanoic acid
Aminoacetic acid
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
ตัวย่อ Gly, G
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.000.248 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
  • NCC (O) =O
คุณสมบัติ
C2H5NO2
มวลโมเลกุล 75.07
ลักษณะทางกายภาพ white solid
ความหนาแน่น 1.1607 g/cm3
จุดหลอมเหลว 233 °C (decomposition)
25 g/100 mL
ความสามารถละลายได้ soluble in ethanol, pyridine
insoluble in ether
pKa 4
ความอันตราย
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC):
2600 mg/kg (mouse, oral)
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

ไกลซีน (อังกฤษ: glycineย่อว่าGly หรือ G[2] ) เป็นกรดอะมิโนที่มีขนาดเล็กที่สุดในบรรดากรดอะมิโน 20 ชนิดที่ประกอบเป็นโปรตีนที่พบในร่างกายมนุษย์ ร่ายกายมนุษย์สามารถสังเคราะห์ไกลซีนได้เอง แต่ก็สามารถได้รับจากการรับประทานอาหารได้เช่นกัน มีสูตรโครงสร้างเป็น NH2CH2COOH มีอะตอมของไฮโดรเจนเป็นโซ่ข้าง ลำดับนิวคลีโอไทด์ที่สามารถแปลรหัสเป็นไกลซีนได้คือ GGU, GGC, GGA, GGG

ไกลซีนเป็นสารไม่มีสี รสหวาน เป็นผลึกแข็ง ไม่มีสูตรโครงสร้างแบบไครอล อยู่ได้ทั้งในสภาวะที่ชอบน้ำและไม่ชอบน้ำ เพราะในโมเลกุลมีไฮโดรเจนเป็นโซข้าง 2 ตัว

ไกลซีนเป็นสารตั้งต้นในกระบวนการเมทาบอลิซึมที่สำคัญหลากหลายกระบวนการ เช่น กลูตาไธโอน พอร์ไฟริน พิวรีน ฮีม และครีเอทีน และทำหน้าที่เป็นสารสื่อประสาทในระบบประสาทส่วนกลาง[3]และช่วยควบคุมการทำงานของร่างกายเช่นการเคลื่อนไหวและการรับรู้ทางประสาทสัมผัส

ไกลซีนยังทำหน้าที่เป็นสารต้านนอนุมูลอิสระ สารต้านการอักเสบ สารที่ป้องกันการเกิดผลึกน้ำแข็ง และสารปรับปรุงภูมิคุ้มกัน ในเนื้อเยื่อส่วนปลายและเนื้อเยื่อประสาท

อ้างอิง[แก้]

  1. แม่แบบ:Merck11th.
  2. แม่แบบ:IUPAC-IUB amino acids 1983.
  3. PubChem. "Glycine". pubchem.ncbi.nlm.nih.gov (ภาษาอังกฤษ).