กลีเซอ 581

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Gliese 581)
กลีเซอ 581

ข้อมูลสังเกตการณ์
ต้นยุคอ้างอิง J2000.0      วิษุวัต J2000.0
กลุ่มดาว กลุ่มดาวคันชั่ง
ไรต์แอสเซนชัน 15h 19m 26.8250s[1]
เดคลิเนชัน −07° 43′ 20.209″[1]
ความส่องสว่างปรากฏ (V) 10.56 to 10.58[2]
คุณสมบัติ
ชนิดสเปกตรัมM3V[3]
ดัชนีสี B-V1.61[1]
มาตรดาราศาสตร์
ความเร็วแนวเล็ง (Rv)−9.5 ± 0.5[1] km/s
การเคลื่อนที่เฉพาะ (μ) RA: −1233.51[4] mas/yr
Dec.: −94.52[4] mas/yr
พารัลแลกซ์ (π)160.91 ± 2.62[4] mas
ระยะทาง20.3 ± 0.3 ly
(6.2 ± 0.1 pc)
ความส่องสว่างสัมบูรณ์ (MV)11.6[5]
รายละเอียด
มวล0.31[6] M
รัศมี0.29[3] R
แรงโน้มถ่วงที่พื้นผิว (log g)4.92 ± 0.10[7]
กำลังส่องสว่าง (bolometric)0.013[3] L
อุณหภูมิ3,480 ± 48[7] K
ค่าความเป็นโลหะ[M/H] = −0.33 ± 0.12[7]
อายุ7-11 × 109[8] ปี
ชื่ออื่น
ฐานข้อมูลอ้างอิงอื่น
SIMBADdata

กลีเซอ 581 (อังกฤษ: Gliese 581, /ˈɡlzə/ กฺลี-เสอะ) เป็นดาวแคระแดงในกลุ่มดาวคันชั่ง อยู่ห่างจากโลก 20.3 ปีแสง มีชนิดสเปกตรัมเป็น M3V ดาวดวงนี้จัดเป็นดาวแปรแสงชนิด เอชโอ คันชั่ง ค้นพบเป็นครั้งแรกโดย ฟรีดริช วิลเฮ็ล์ม อาร์เกอลันเดอร์ ในปี ค.ศ. 1863 และตีพิมพ์ลงในแค็ตตาล็อกดาว บ็อนเนอร์ดวร์ชมุสเทอรุง ในชื่อ บีดี-07° 4003

กลีเซอ 581 เมื่อเปรียบเทียบกับดวงอาทิตย์ของเรา
ดาวเคราะห์ของกลีเซอ 581

กลีเซอ 581 มีมวลประมาณหนึ่งในสามของดวงอาทิตย์ของเรา และเชื่อว่ามีดาวเคราะห์อย่างน้อย 3 ดวงโคจรอยู่รอบๆ ดวงแรกคือ กลีเซอ 581 บี มีขนาดใกล้เคียงกับดาวเนปจูน ค้นพบในปี พ.ศ. 2549[3] ดวงที่สองคือ กลีเซอ 581 ซี มีขนาด 1.5 เท่าของโลก ค้นพบในปี พ.ศ. 2550[10] มีความเป็นไปได้ว่าจะเป็นดาวเคราะห์นอกระบบหินแข็งดวงแรก นอกจากนี้ยังมีข้อมูลอีกว่ามีความเป็นไปได้ที่จะมีดาวเคราะห์ดวงที่สาม กลีเซอ 581 ดี ซึ่งมีมวลประมาณ 8 เท่าของโลกและมีคาบการโคจร 84 วัน

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 V* HO Lib -- Variable Star , database entry, SIMBAD. Accessed online August 21, 2008.
  2. HO Lib, database entry. "The combined table of GCVS Vols I-III and NL 67-78 with improved coordinates, General Catalogue of Variable Stars". Sternberg Astronomical Institute, Moscow, Russia. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-06-20. สืบค้นเมื่อ 2008-08-21.
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 Bonfils, Xavier; Forveille, Thierry; Delfosse, Xavier; Udry, Stéphane; Mayor, Michel; Perrier, Christian; Bouchy, François; Pepe, Francesco; Queloz, Didier; Bertaux, Jean-Loup (2005). "The HARPS search for southern extra-solar planets VI: A Neptune-mass planet around the nearby M dwarf Gl 581". Astronomy and Astrophysics. 443 (3): L15–L18. arXiv:astro-ph/0509211. Bibcode:2005A&A...443L..15B. doi:10.1051/0004-6361:200500193. S2CID 59569803.
  4. 4.0 4.1 4.2 van Leeuwen, F. (2007). "HIP 74995". Hipparcos, the New Reduction. Strasbourg Astronomical Observatory. สืบค้นเมื่อ 2008-08-16.
  5. From apparent magnitude and parallax.
  6. "Star: Gl 581". Extrasolar Planets Encyclopaedia. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-05-10. สืบค้นเมื่อ 2008-08-21.
  7. 7.0 7.1 7.2 Bean, J. L.; Benedict, G. F.; Endl, M. (2006). "Metallicities of M Dwarf Planet Hosts from Spectral Synthesis". The Astrophysical Journal. 653 (1): L65–L68. doi:10.1086/510527. สืบค้นเมื่อ 2007-02-04.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  8. Selsis 3.4 "lower limit of the age that, considering the associated uncertainties, could be around 7 Gyr", "preliminary estimate", "should not be above 10-11 Gyr"
  9. Entry 5594-1093-1, Tycho Catalogue, The Hipparcos and Tycho Cataloguess, CDS ID I/239.
  10. The HARPS search for southern extra-solar planets XI. An habitable super-Earth (5 M) in a 3-planet system

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]