แอสมารา

พิกัด: 15°19′22″N 38°55′30″E / 15.32278°N 38.92500°E / 15.32278; 38.92500
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Asmara)
แอสมารา

ኣስመራ
ตามเข็มนาฬิกาจากบน: ตึกระฟ้า, ดวงอาทิตย์ตกเหนือแอสมารา, โบสถ์แม่พระแห่งลูกประคำ, ป้ายอาคาร Fiat Tagliero, การประชุม 23d ISCOE แอฟริกาตะวันออกที่แอสมาราใน ค.ศ. 2019
ตามเข็มนาฬิกาจากบน:
ตึกระฟ้า, ดวงอาทิตย์ตกเหนือแอสมารา, โบสถ์แม่พระแห่งลูกประคำ, ป้ายอาคาร Fiat Tagliero, การประชุม 23d ISCOE แอฟริกาตะวันออกที่แอสมาราใน ค.ศ. 2019
ธงของแอสมารา
ธง
ตราราชการของแอสมารา
ตราอาร์ม
แผนที่
แผนที่เมืองแอสมารา
แอสมาราตั้งอยู่ในเอริเทรีย
แอสมารา
แอสมารา
ที่ตั้งในประเทศเอริเทรีย
แอสมาราตั้งอยู่ในแอฟริกา
แอสมารา
แอสมารา
ที่ตั้งในทวีปแอฟริกา
พิกัด: 15°19′22″N 38°55′30″E / 15.32278°N 38.92500°E / 15.32278; 38.92500
ประเทศ เอริเทรีย
ภูมิภาคกลาง
อำเภอ13
ก่อตั้ง800 ปีก่อนคริสต์ศักราช
รวมตัวค.ศ. 1890
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีแห่งแอสมาราFshaye Haile
 • นายกเทศมนตรีแห่งโซบาFshaye Haile
พื้นที่
 • เมืองหลวง45 ตร.กม. (17 ตร.ไมล์)
ความสูง2,325 เมตร (7,628 ฟุต)
ประชากร
 (2020)[1]
 • เมืองหลวง963,000 คน
 • อันดับอันดับ 1 ของประเทศ
 • ความหนาแน่น19,911 คน/ตร.กม. (51,570 คน/ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล1,258,001 คน
เขตเวลาUTC+03:00 (เวลาแอฟริกาตะวันออก)
เอชดีไอ (2019)เพิ่มขึ้น 0.630[2]
ปานกลาง · อันดับที่ 1
ภูมิอากาศAw, BSk
ชื่อทางการAsmera: a Modernist City of Africa
เกณฑ์พิจารณาวัฒนธรรม: ii, iv
อ้างอิง1550
ขึ้นทะเบียน2017 (สมัยที่ 41)
พื้นที่481 ha
พื้นที่กันชน1,203 ha

แอสมารา (อังกฤษ: Asmara, /æsˈmɑːrə/) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในประเทศเอริเทรีย เนื่องจากตั้งอยู่ที่ความสูง 2,325 เมตร (7,628 ฟุต) ทำให้เมืองนี้เป็นเมืองหลวงที่สูงอันดับ 6 ของโลกตามระดับความสูง ใน ค.ศ. 2017 เมืองนี้ได้สถานะแหล่งมรดกโลกของยูเนสโกสำหรับการรักษาสถาปัตยกรรมสมัยใหม่อย่างดี[3][4] มีผู้อยู่อาศัยในพื้นที่แอสมารามาตั้งแต่ 800 ปีก่อนคริสต์ศักราช โดยมีประชากรตั้งแต่ 100 ถึง 1,000 คน เมืองนี้ก่อตั้งขึ้นจากการรวมหมู่บ้าน 4 แห่งเข้าด้วยกันหลังผ่านพ้นช่วงที่มีความขัดแย้งในคริสต์ศตวรรษที่ 12[5] ในช่วงที่อิตาลีครอบครอง แอสมารากลายเป็นเมืองหลวงของเอริเทรียในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19

อ้างอิง[แก้]

  1. "CIA – The World Factbook". สืบค้นเมื่อ 2 September 2012.
  2. "Sub-national HDI – Area Database – Global Data Lab". hdi.globaldatalab.org (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 12 April 2021.
  3. Mark Byrnes An African City's Unusual Preservation Legacy เก็บถาวร 2012-03-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน 8 February 2012 Atlantic Cities
  4. "Eritrea capital Asmera makes World Heritage list". 8 July 2017. สืบค้นเมื่อ 8 July 2017.
  5. "Arbate Asmara: The origin of the city". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 July 2019. สืบค้นเมื่อ 14 January 2019.

อ่านเพิ่ม[แก้]

  • Peter Volgger and Stefan Graf: "Architecture in Asmara. Colonial Origin and Postcolonial Experiences", DOM publishers, Berlin 2017,ISBN 978-3-86922-487-9
  • Stefan Boness: "Asmara – Africa´s Jewel of Modernity". Jovis Verlag, Berlin 2016, ISBN 978-3-86859-435-5 (photo book; German, English)
  • Stefan Boness: "Asmara – The Frozen City". Jovis Verlag, Berlin 2006. 96 pages. ISBN 3-936314-61-6 (photo book; German, English)
  • Edward Denison, Guang Yu Ren, Naigzy Gebremedhin, and Guang Yu Ren, Asmara: Africa's Secret Modernist City (2003) ISBN 1-85894-209-8
  • Gianluca Rossi, Renzo Martinelli inviato de "La Nazione", 2009, ISBN 978-88-7255-356-5

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]