23313 สุโภไควณิช

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
23313 สุโภไควณิช
การค้นพบ
ค้นพบโดย:โครงการวิจัยดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกลินคอล์น
ค้นพบเมื่อ:3 มกราคม พ.ศ. 2544
ชื่อตามระบบ MPC:23313
ชื่ออื่น ๆ:2001 AC42
ชนิดของดาวเคราะห์น้อย:แถบดาวเคราะห์น้อย
ลักษณะของวงโคจร
ระยะจุดไกล
ดวงอาทิตย์ที่สุด
:
2.6216313 AU
ระยะจุดใกล้
ดวงอาทิตย์ที่สุด
:
1.8648741 AU
ความเยื้องศูนย์กลาง:0.1686741
คาบดาราคติ:1227.2011173 d
ความเอียง:5.63063°
ลองจิจูด
ของจุดโหนดขึ้น
:
310.85803
มุมของจุด
ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด
:
89.72198
ลักษณะทางกายภาพ

23313 สุโภไควณิช เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อยที่มีคาบดาราคติ 1227.2011173 วัน (3.36 ปี)[1] ถูกค้นพบในวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2544 และตั้งชื่อตาม ณฐพล สุโภไควณิช นักเรียนโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาในขณะนั้น ที่เป็นหนึ่งในสามสมาชิกกลุ่มตัวแทนประเทศไทย ไปประกวดโครงงานของนักวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว์ งาน Intel International Science and Engineering Fair หรือ ISEF ที่สหรัฐอเมริกา เรื่องรูปแบบการหุบของใบไมยราบ ซึ่งได้อันดับ 1 ของโลก เมื่อปี พ.ศ. 2550[2] และได้รางวัลของ European Union Contest for Young Scientists (EUCYS) จากผลงานเดียวกัน

อ้างอิง[แก้]

  1. "JPL Small-Body Database Browser". NASA. สืบค้นเมื่อ 2009-06-18.
  2. รายงานพิเศษ : รูปแบบการหุบของใบไมยราบ โครงงานวิทยาศาสตร์ของเด็กไทย ที่ 1 ในโลก เว็บไซต์สนุก สืบค้นวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2551