ไฮดรา (ดาวบริวาร)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไฮดรา

ภาพถ่ายโดยยานนิวฮอไรซันส์ เมื่อ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2558
การค้นพบ
ค้นพบโดย:กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล
ทีมค้นหาเพื่อนพลูโต (Pluto Companion Search Team)
ค้นพบเมื่อ:มิถุนายน 2548
ชื่ออื่น ๆ:(134340) Pluto III
ลักษณะของวงโคจร[1]
กึ่งแกนรอง:64 749 กม.
ความเยื้องศูนย์กลาง:0.0051
คาบการโคจร:38.206 ± 0.001 วัน
ความเอียง:0.212°
ดาวบริวารของ:ดาวพลูโต
ลักษณะทางกายภาพ
รัศมีเฉลี่ย:30 − 84 กม.[2]
มวล:4.2×1017 กก.[3]
ความหนาแน่นเฉลี่ย:(ไม่ทราบ)
ความเอียงของแกน:(ไม่ทราบ)
อัตราส่วนสะท้อน:0.04 − 0.35 (สันนิษฐาน)[4]
อุณหภูมิ:33–55 K
โชติมาตรปรากฏ:22.9 ถึง 23.3 (วัด)[4]

ไฮดรา (กรีก: Ύδρα) เป็นดาวบริวารที่ไกลที่สุดเป็นอันดับสองของดาวพลูโต ถูกค้นพบร่วมกับนิกซ์ เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2548 มีภารกิจบินสำรวจไฮดราร่วมกับดาวพลูโตในภารกิจนิวฮอไรซอนส์ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2558

อ้างอิง[แก้]

  1. doi:10.1086/504422
    This citation will be automatically completed in the next few minutes. You can jump the queue or expand by hand. a, i, e per JPL (site updated 2008 Aug 25)
  2. H. A. Weaver (2006). "Discovery of two new satellites of Pluto". Nature. 439 (7079): 943–945. arXiv:astro-ph/0601018. Bibcode:2006Natur.439..943W. doi:10.1038/nature04547. PMID 16495991. {{cite journal}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)
  3. Tholen, David J.; Buie; Grundy (2010). "Improved Masses of Nix and Hydra". AAS DPS Meeting #42. 42: 984. Bibcode:2010DPS....42.2008T. {{cite journal}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)
  4. 4.0 4.1 Stern, S. A. (2006). "The Positions, Colors, and Photometric Variability of Pluto's Small Satellites from HST Observations 2005–2006". Astronomical Journal. 132 (3): submitted. arXiv:astro-ph/0607507. Bibcode:2006AJ....132.1405S. doi:10.1086/506347. {{cite journal}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help) (Final preprint)