ไข้สูงอย่างร้าย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไข้สูงอย่างร้าย
(Malignant hyperthermia)
ความผิดปกติในยีน Ryanodine Recepter 1 มักพบได้ในผู้ที่เคยเป็นหรือเป็น malignant hyperthermia, และอาจถูกใช้ในการหาความเสี่ยงที่จะเป็นโรคนี้ด้วย
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก
ICD-10T88.3
ICD-9995.86
OMIM145600 154275 154276 600467 601887 601888
DiseasesDB7776
MedlinePlus001315
MeSHD008305
GeneReviews

ไข้สูงอย่างร้าย (อังกฤษ: malignant hyperthermia (MH), malignant hyperpyrexia)[1] คือสภาวะอันตรายถึงตายที่พบยาก ปกติเกิดจากการถูกกระตุ้นโดยการสัมผัสยาดมสลบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งยาชาระเหยและยาสำหรับการปิดกั้นระบบประสาทและกล้ามเนื้อ จำพวก succinylcholine ในบุคคลที่แพ้ยาดังกล่าว ยาจะทำให้เกิด oxidative metabolism ของกล้ามเนื้อลายอย่างรุนแรงและไม่อาจควบคุมได้ ส่งผลให้ระบบไหลเวียนโลหิตล้มเหลวและเสียชีวิตได้หากไม่ได้รับการรักษาโดยเร็ว

ความผิดปกติที่ทำให้เกิดอาการ MH มีส่วนเกี่ยวข้องกับความผิดปกติของยีนออโตโซมเด่นที่มีความสำคัญอย่างน้อย 6 จุด[2] โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ยีน ryanodine receptor (RYR1). ลักษณะความปกติ MH มักมีความเกี่ยวข้องทั้งทางกายภาพและทางพัธุกรรมกับ central core disease (CCD) ซึ่งเป็นความผิดปกติของยีนออโตโซมเด่นที่มีเอกลักษณ์เดียวกันทั้งอาการ MH และ myopathy. MH มักปรากฏในลักษณะของการไร้ความรู้สึก หรืออาการในลักษณะเดียวกัน อย่างไรก็ตาม ยังไม่มีการวิเคราะห์โดยตรงประเภทใดที่บ่งชี้อาการ MH ได้อย่างชัดเจน

อ้างอิง[แก้]

  1. Rosenberg H, Davis M, James D, Pollock N, Stowell K (2007). "Malignant hyperthermia". Orphanet J Rare Dis. 2: 21. doi:10.1186/1750-1172-2-21. PMC 1867813. PMID 17456235.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  2. Litman R, Rosenberg H (2005). "Malignant hyperthermia: update on susceptibility testing". JAMA. 293 (23): 2918–24. doi:10.1001/jama.293.23.2918. PMID 15956637.

ดูเพิ่ม[แก้]