โพแทสเซียม โคบอลติไนไตรต์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โพแทสเซียม โคบอลติไนไตรต์
ชื่อ
IUPAC name
Potassium hexanitritocobaltate(III)
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
ECHA InfoCard 100.034.018 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
  • InChI=1S/Co.3K.6HNO2.H2O/c;;;;6*2-1-3;/h;;;;6*(H,2,3);1H2/q+3;3*+1;;;;;;;/p-6
  • N(=O)[O-].N(=O)[O-].N(=O)[O-].N(=O)[O-].N(=O)[O-].N(=O)[O-].[K+].[K+].[K+].[Co]
คุณสมบัติ
K3[Co(NO2)6] (anhydrous)
K3[Co(NO2)6]·1.5H2O (sesquihydrate)
มวลโมเลกุล 452.26 g/mol (anhydrous)
479.284 g/mol (sesquihydrate)
ลักษณะทางกายภาพ yellow cubic crystals (sesquihydrate)
ความหนาแน่น 2.6 g/cm3 (sesquihydrate)
slightly soluble in water (sesquihydrate)
ความสามารถละลายได้ reacts with acids, insoluble in ethanol (sesquihydrate)[1]
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

โพแทสเซียม โคบอลติไนไตรต์ (อังกฤษ: Potassium cobaltinitrite) ตามระบบการเรียกชื่อสารเคมีของ IUPAC ว่า โพแทสเซียม เฮกซะไนไตรโตโคบอลเตต(III) (อังกฤษ: Potassium hexanitritocobaltate(III)) เป็นสารประกอบโคออร์ดิเนชันที่มีสูตร K3[Co(NO2)6] แอนไอออนของเกลือสีเหลืองนี้เป็นสีประกอบด้วยใจกลางโคบอลต์(III) ผูกพันกับ 6 ไนตริโตลิแกนด์ เป็นที่ไม่ละลายในน้ำและมีการตกตะกอนเป็นของแข็งสีเหลือง

ถูกทำขึ้นครั้งแรกในปี 1848 โดย N. W. Fischer ในเบรสเลา[2] และมันถูกใช้เป็นเม็ดสีเหลืองที่เรียกว่า อูเรโอลิน[3][4]

อ้างอิง[แก้]

  1. Lide, David R. (1998). Handbook of Chemistry and Physics (87 ed.). Boca Raton, FL: CRC Press. pp. 4–54. ISBN 0-8493-0594-2{{cite book}}: CS1 maint: postscript (ลิงก์)
  2. Fischer, N. W. (1848). "Ueber die salpetrichtsauren Salze". Annalen der Physik und Chemie. 150 (5): 115–125. Bibcode:1848AnP...150..115F. doi:10.1002/andp.18491500512.
  3. Gates, G. (1995). "A Note on the Artists' Pigment Aureolin". Studies in Conservation. 40 (3): 201–206. doi:10.2307/1506479. JSTOR 1506479.
  4. Gettens, Rutherford John; Stout, George Leslie (1966). Painting materials: A short encyclopaedia. pp. 109–110. ISBN 978-0-486-21597-6.