แอซิเตต

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
แอซิเตต
Ball-and-stick model ของไอออนบวกแอซิเตด
ชื่อ
Systematic IUPAC name
แอซิเตต
เลขทะเบียน
คุณสมบัติ
CH
3
CO
2
มวลโมเลกุล 59 g mol-1
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

แอซิเตด (อังกฤษ: acetate) เป็นไอออนลบ ตรงแบบพบในสารละลายน้ำ (aqueous solution) มักเขียนด้วยสูตรเคมี C2H3O2 โมเลกุลที่เป็นกลางทางไฟฟ้าอันเกิดจากการรวมแอซิเตดไอออนกับไอออนบวกโดยทั่วไปเรียก "แอซิเตดส์" (acetates) สารอย่างง่ายที่สุดในกลุ่มนี้ คือ ไฮโดรเจนแอซิเตด หรือกรดแอซิติก กับเกลือ เอสเทอร์ที่สอดคล้อง และไอออนบวกหลายอะตอม CH3CO2 หรือ CH3COO

กรดแอซิติกที่ผลิตในอุตสาหกรรม 5 พันล้านกิโลกรัมส่วนใหญ่ใช้ในการผลิตแอซิเตด ซึ่งมักอยู่ในรูปพอลิเมอร์ แอซิเตดเป็นหน่วยชีวสังเคราะห์ที่พบมากที่สุดในธรรมชาติ ตัวอย่างเช่น กรดไขมันเกิดจากการเชื่อมสองอะตอมคาร์บอนจากแอซิเตดเข้ากับกรดไขมันที่ใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ[1]

อ้างอิง[แก้]

  1. March, J. “Advanced Organic Chemistry” 4th Ed. J. Wiley and Sons, 1992: New York. ISBN 0-471-60180-2.