แม่แบบ:พระไตรปิฎกเถรวาท

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

คัมภีร์หลักในพระพุทธศาสนา
พระไตรปิฎกเถรวาท
๔๕ เล่ม

    พระวินัยปิฎก    
   
                                       
คัมภีร์
สุตตวิภังค์
คัมภีร์
ขันธกะ
คัมภีร์
ปริวาร
               
   
    พระสุตตันตปิฎก    
   
                                                      
คัมภีร์
ทีฆนิกาย
คัมภีร์
มัชฌิมนิกาย
คัมภีร์
สังยุตตนิกาย
                     
   
   
                                                                     
คัมภีร์
อังคุตตรนิกาย
คัมภีร์
ขุททกนิกาย
                           
   
    พระอภิธรรมปิฎก    
   
                                                           
สงฺ วิภงฺ ธา
ปุ.
กถา ยมก ปัฏฐานปกรณ์
                       
   
         
Documentation icon คู่มือการใช้งานแม่แบบ[ดู] [แก้] [ประวัติ] [ล้างแคช]

แม่แบบ:พระไตรปิฎกเถรวาท เป็นแม่แบบแสดงรายชื่อหมวดหมู่สำคัญในพระไตรปิฎกเถรวาท ตามหลักการแบ่งของสมาคมบาลีปกรณ์

การใช้แม่แบบ[แก้]

แม่แบบนี้สามารถใส่ในหน้าบทความได้โดย

  • ใส่โค้ด {{พระไตรปิฎกเถรวาท}} ในบทความ เพื่อแสดง แม่แบบเต็ม ในหน้าบทความ
  • ใส่โค้ด {{พระไตรปิฎกเถรวาท|abbrev=1}} ในบทความ เพื่อแสดง แม่แบบย่อ ในหน้าบทความ

ควาหมายรูปแบบ แผนผัง สี และรายการในแม่แบบ[แก้]

รูปแบบสีและองค์ประกอบในแม่แบบ มีลักษณะคล้ายตู้พระไตรปิฎกดังรูปถ่ายข้างล่างซ้าย

แม่แบบนี้ใช้สีน้ำเงินและสีทอง เพื่อให้คล้ายกับลักษณะหนังสือและผูกใบลานพระไตรปิฎกส่วนใหญ่ที่จารหรือจัดพิมพ์ในประเทศไทย

สาเหตุที่ใช้หลักการแบ่งพระไตรปิฎกออกเป็น 45 เล่ม เพราะว่าแม้จำนวนเล่มของพระไตรปิฎกเถรวาทจะมีมากมาย โดยมีความแตกต่างกันไปในหลาย ๆ ประเทศ เช่นคัมภีร์ธาตุกถา ประเทศพม่าจะแบ่งออกเป็น 3 เล่ม (ติกนิกาย) ซึ่งต่างจากฉบับของไทยที่มีเพียงเล่มเดียว แต่แม่แบบนี้เป็นแม่แบบในวิกิพีเดียภาษาไทย จึงใช้หลักการแบ่งตามการจัดพิมพ์หนังสือพระไตรปิฎกของไทยที่มี 45 เล่ม และถือการจัดแบ่งหมวดหมู่คัมภีร์พระไตรปิฎกตามหลักการของ สมาคมบาลีปกรณ์ แห่งสหราชอาณาจักร ที่ใช้ทั่วไปในประเทศพุทธเถรวาท[1] ซึ่งหลักการแบ่งดังกล่าวอาจไม่ตรงกับการจัดแบ่งคัมภีร์ของไทยในบางหัวข้อ แต่พึงเข้าใจว่าเนื้อหาในพระไตรปิฎกเถรวาทแม้ว่าจะจัดแบ่งหมวดหมู่โดยใช้หลักการเช่นไร เนื้อหาในพระไตรปิฎกเถรวาทย่อมถูกต้องตรงกันเสมอ

อักษรย่อในแม่แบบ[แก้]

อักษรย่อในแม่แบบ (หมวดหมู่อภิธรรมปิฎก) มีความหมายถึงคัมภีร์ดังต่อไปนี้

  • สงฺ. = ธรรมสังคณีปกรณ์
  • วิภงฺ. = วิภังคปกรณ์
  • ธา. = ธาตุกถา
  • ปุ. = ปุคคลบัญญัติปกรณ์
  • ก. = กถาวัตถุปกรณ์
  • ยมก. = ยมกปกรณ์

อนึ่ง อักษรย่อในแม่แบบดังกล่าวข้างต้น ใช้เพื่อสามารถแบ่งชั้นหนังสือในแม่แบบให้สวยงามเท่านั้น อักษรย่อที่ใช้ในแม่แบบดังกล่าวจึงไม่ถูกต้องตามหลักการอ้างอิงคัมภีร์ที่ใช้ทั่วไปในการแต่งหนังสือทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย ซึ่งควรเข้าใจว่าหลักการอ้างอิงอักษรย่อบอกนามคัมภีร์ในแม่แบบดังกล่าว ที่ถูกต้องตามหลักวิชาการต้องเป็นดังนี้

  • อภิ. สงฺ. = ธรรมสังคณีปกรณ์
  • อภิ. วิ. = วิภังคปกรณ์
  • อภิ. ธา. = ธาตุกถา
  • อภิ. ปุ. = ปุคคลบัญญัติปกรณ์
  • อภิ. ก. = กถาวัตถุปกรณ์
  • อภิ. ย. = ยมกปกรณ์

อ้างอิง[แก้]

  1. เสนาะ ผดุงวัตร. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระไตรปิฎก. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๒๙