เอฟไอเอ็ม-92 สติงเจอร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Stinger
นาวิกโยธินสหรัฐใช้งานเอฟไอเอ็ม-92 สติงเจอร์ (ค.ศ. 1984).
ชนิดอาวุธปล่อยผิวพื้นสู่อากาศบุคคลแบบประทับบ่ายิง
แหล่งกำเนิดสหรัฐ สหรัฐอเมริกา
บทบาท
ประจำการ1981–ปัจจุบัน
ผู้ใช้งานดูที่ ผู้ใช้งาน
สงครามสงครามหมู่เกาะฟอล์กแลนด์, สงครามโซเวียตในอัฟกานิสถาน, สงครามกลางเมืองอังโกลา, สงครามคาร์กิล, สงครามยูโกสลาเวีย, การจู่โจมเกรนาดา
ประวัติการผลิต
ผู้ออกแบบเจอเนอรัลไดนามิกส์
ช่วงการออกแบบค.ศ. 1967
บริษัทผู้ผลิตเรเธียน
มูลค่า38,000 US$
ช่วงการผลิตค.ศ. 1978
แบบอื่นเอฟไอเอ็ม-92เอ, เอฟไอเอ็ม-92บี, เอฟไอเอ็ม-92ซี, เอฟไอเอ็ม-92ดี, เอฟไอเอ็ม-92จี
ข้อมูลจำเพาะ (เอฟไอเอ็ม-92 สติงเกอร์)
มวล15.2 กก.
ความยาว1.52 ม.
เส้นผ่าศูนย์กลาง70 มม.
ลูกเรือ1

ระยะหวังผล8 กิโลเมตร (5.0 ไมล์) (FIM-92C Stinger-RMP Block II)
น้ำหนักหัวรบ3 kg

เครื่องยนต์มอเตอร์จรวดแข็ง
ระบบนำวิถี
อินฟราเรด
ฐานยิง
บุคคลประทับบ่ายิง, เอ็ม6 ลายน์แบ็คเกอร์, ยูโรคอปเตอร์ ไทเกอร์, เอเอ็น/ทีดับบลิวคิว-1 อเวนเจอร์, เอ็มคิว-1 พรีเดเตอร์, เอเอช-64 อาพาชี่

เอฟไอเอ็ม-92 สติงเจอร์ เป็นอาวุธปล่อยผิวพื้นสู่อากาศ (SAM) นำวิถีด้วยอินฟราเรด ติดตั้งบนพาหนะภาคพื้นดิน บุคคลประทับบ่ายิง หรือบางกรณีสามารถติดตั้งกับเฮลิคอปเตอร์ได้ (AAM) พัฒนาโดยสหรัฐอเมริกาและเข้าประจำการในกองทัพบกสหรัฐในปี ค.ศ. 1981 และในอีก 29 ประเทศทั่วโลก มีสถิติบันทึกว่าสามารถทำลายอากาศยานได้ 270 ลำ[1]

สติงเจอร์ผลิตโดยเรเธียน และได้รับสิทธิบัตรผลิตในเยอรมนีโดยอีเอดีเอส ปัจจุบันถูกผลิตขึ้นกว่า 70,000 กระบอก ถูกจัดให้อยู่ในประเภทของระบบป้องกันภัยทางอากาศแบบประทับบ่ายิง (MANPADS)

อ้างอิง[แก้]

  1. Whitmire, James C. (December 2006). "Shoulder Launched Missiles (A.K.A. Manpads) : The Ominous Threat to Commercial Aviation" (PDF). USAF Counterproliferation Center. p. 20. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-06-12. สืบค้นเมื่อ 2011-02-06.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]