เรือด่วนเจ้าพระยา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เรือด่วนเจ้าพระยา
เรือด่วนเจ้าพระยาขณะกำลังออกจากท่าโดยมีวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร ปรากฏอยู่เบื้องหลัง
ที่ตั้งกรุงเทพมหานคร
เส้นทางเดินเรือแม่น้ำเจ้าพระยา
ประเภทบริการเรือด่วนพิเศษ, เรือด่วนปรับอากาศ
สาย
  • ธงส้ม นนทบุรี-วัดราชสิงขร
  • ธงเหลือง นนทบุรี-สาทร
  • ธงเขียวเหลือง ปากเกร็ด-สาทร
  • ธงแดง นนทบุรี-สาทร
  • เรือประจำทาง ไม่มีธง (งดให้บริการชั่วคราว)
เจ้าของกลุ่มบริษัทสุภัทรา
ผู้ดำเนินงานบริษัท เรือด่วนเจ้าพระยา จำกัด
กำกับดูแลกรมเจ้าท่า, กรุงเทพมหานคร
เริ่มดำเนินงานเมื่อพ.ศ. 2514
ความยาวของเส้นทาง32 กม. (19.88 ไมล์)
จำนวนสาย5 สาย
จำนวนเรือ65 ลำ
จุดเปลี่ยนสายทางท่าสาทร
จำนวนท่าเรือ38 ท่า
เว็บไซต์www.chaophrayaexpressboat.com
แผนที่เส้นทาง

N33
ปากเกร็ด
N32
วัดกลางเกร็ด
N31/1
บ้านพักข้าราชบริพารติวานนท์
N31
กระทรวงพาณิชย์
N30/1
พระนั่งเกล้า
สะพานพระนั่งเกล้า ไทรม้า – แยกนนทบุรี 1
N30
นนทบุรี (พิบูลสงคราม 3)
สะพานพระราม 5
N29/1
N29
พิบูลสงคราม 2
ไม่จอด
วัดเขียน
N28
วัดตึก
N27
N26
วัดเขมา
N25
พิบูลสงคราม 1
ไม่จอด
พระราม 7
N24
ข้ามเขต
จังหวัด
นนทบุรี
กรุงเทพ
N23
วัดสร้อยทอง
บางโพ บางอ้อ – เตาปูน
N22
บางโพ
N21
เกียกกาย
N20
เขียวไข่กา
จอดเป็นบางเที่ยว
N19
กรมชลประทาน
จอดเป็นบางเที่ยว
N18
พายัพ
วัดเทพากร
N17/1
ไม่จอด
วัดเทพนารี
N17
ไม่จอด
สะพานกรุงธน
N16
N15
เทเวศร์
พระราม 8
N14
ไม่จอด
N13
พระอาทิตย์
พระปิ่นเกล้า
N12
ท่ารถไฟ
N11
พรานนก (วังหลัง)
N10
N9
ท่าช้าง
N8
ท่าเตียน
ปิดปรับปรุง จอดที่ท่าวัดอรุณแทน
วัดอรุณ
สนามไชย อิสรภาพ – สามยอด
N7
ราชินี
N6/1
ยอดพิมาน
ไม่จอด
N6
สะพานพุทธ
N5
ราชวงศ์
N4
กรมเจ้าท่า
N3
สี่พระยา
ไอคอนสยาม
N2/1
สายธงส้มเพิ่มจุดจอดชั่วคราว
N2
วัดม่วงแค
ไม่จอด
N1
โอเรียนเต็ล
สะพานตากสิน กรุงธนบุรี – สุรศักดิ์
CEN
สาทร
S1
วัดเศวตฉัตร
ปิดปรับปรุง
S2
วัดวรจรรยาวาส
จอดเป็นบางเที่ยว
S3
วัดราชสิงขร
ข้อมูล ณ วันที่ 26 ธันวาคม 2565

เรือด่วนเจ้าพระยา (อังกฤษ: Chao Phraya Express Boat) เป็นเรือโดยสารในแม่น้ำเจ้าพระยา ให้บริการในเส้นทางปากเกร็ด-นนทบุรี-สาทร-วัดราชสิงขร โดย บริษัท เรือด่วนเจ้าพระยา จำกัด

ประวัติ[แก้]

เรือด่วนเจ้าพระยา มีจุดเริ่มต้นมาจากการเดินเรือในแม่น้ำเจ้าพระยา โดยองค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (สรพ.) และได้ขายกิจการดังกล่าวให้กับ บริษัท เรือด่วนเจ้าพระยา จำกัด ซึ่งก่อตั้งขึ้นโดย คุณหญิง สุภัทร สิงหลกะ และรับช่วงมาดำเนินงานต่อในปี พ.ศ. 2514[1]

แต่เดิมบริษัทได้ดูแลกิจการเกี่ยวกับเรือข้ามฟากอยู่ก่อนแล้ว และที่ผ่านมาได้ประสบปัญหาเกี่ยวกับการแย่งที่จอดกันระหว่างเรือด่วน และเรือข้ามฟาก เนื่องจากเรือด่วนเป็นกิจการของรัฐบาล จึงมีสิทธิในการเข้าจอดทุกท่าน้ำ นอกจากนี้ได้มีการเปิดเสรีการเดินเรือโดยให้กรมเจ้าท่าเป็นคนกำกับดูแล ทำให้มีความหนาแน่นสูงในการเข้าเทียบท่าเกิดปัญหาและเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ เมื่อรัฐบาลขายกิจการจึงได้เข้าซื้อเพื่อบริหารงานทางน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาได้อย่างสมบูรณ์แบบขึ้น[2]

เส้นทางเดินเรือ[แก้]

ปัจจุบัน เรือด่วนเจ้าพระยาประกอบไปด้วยเส้นทางเดินเรือจำนวน 5 สาย[3] มีเรือให้บริการ 65 ลำ ให้บริการ 38 ท่าตลอดระยะทางประมาณ 32 กิโลเมตร[4] ครอบคลุมตั้งแต่ท่าน้ำปากเกร็ด ไปจนถึง ท่าวัดราชสิงขร โดยมีเส้นทางหลัก ประกอบไปด้วย

  • เรือด่วน ธงส้ม เป็นเรือด่วนพิเศษ ให้บริการในเส้นทางตั้งแต่ ท่านนทบุรี - ท่าวัดราชสิงขร ให้บริการทุกวัน ค่าโดยสาร 16 บาทตลอดทั้งสาย
  • เรือด่วน ธงเหลือง เป็นเรือด่วนพิเศษ ให้บริการในเส้นทางตั้งแต่ ท่านนทบุรี - ท่าสาทร ให้บริการวันจันทร์ - ศุกร์ ค่าโดยสาร 21 บาทตลอดทั้งสาย
  • เรือด่วน ธงเขียวเหลือง เป็นเรือด่วนพิเศษ ให้บริการในเส้นทางตั้งแต่ ท่าปากเกร็ด - ท่าสาทร ให้บริการวันจันทร์ - ศุกร์ ค่าโดยสาร แบ่งเป็น 3 อัตรา ปากเกร็ด-นนทบุรี 14 บาท นนทบุรี-สาทร 21 บาท และ ปากเกร็ด-สาทร 33 บาท
  • เรือด่วน ธงแดง เป็นเรือด่วนแบบปรับอากาศ มีชื่อเรียกอีกชื่อว่า ริว่า เอ็กเพรส ให้บริการในเส้นทางตั้งแต่ ท่านนทบุรี - ท่าสาทร ให้บริการทุกวัน ค่าโดยสาร 30 บาทตลอดทั้งสาย (ปกติ 50 บาท)
  • เรือโดยสารประจำทาง  ไม่มีธง  ปัจจุบันงดให้บริการชั่วคราว[1]

เรือท่องเที่ยว  ธงสีฟ้า [แก้]

นอกจากเรือด่วนแล้ว เรือด่วนเจ้าพระยายังให้บริการเรือท่องเที่ยว โดย บริษัท เจ้าพระยาทัวร์ริสท์โบ๊ท จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทในกลุ่มสุภัทรา กำหนดสัญลักษณ์ด้วยธงสีฟ้า เป็นการวิ่งระยะสั้นระหว่างท่าพระอาทิตย์กับท่าสาทร โดยในช่วงเย็นจะขยายเส้นทางไปจนถึงเอเชียทีค ให้บริการทุกวัน[5][6]

  • ขาไป ออกจากท่าพระอาทิตย์ ไปยังท่าสาทร เที่ยวแรกเวลา 8.30 น. เที่ยวสุดท้ายเวลา 17.00 น. ความถี่ 30 นาทีต่อรอบ ตั้งแต่เวลา 15.30 น. จะขยายเส้นทางไปจนถึงเอเชียทีค
  • ขากลับ ออกจากท่าสาทร ไปยังท่าพระอาทิตย์ เที่ยวแรกเวลา 09.00 น. เที่ยวสุดท้ายเวลา 17.30 น. ความถี่ 30 นาทีต่อรอบ

ท่าเรือ[แก้]

N33
ปากเกร็ด
N32
วัดกลางเกร็ด
N31/1
บ้านพักข้าราชบริพารติวานนท์
N31
กระทรวงพาณิชย์
N30/1
พระนั่งเกล้า
สะพานพระนั่งเกล้า ไทรม้า – แยกนนทบุรี 1
N30
นนทบุรี (พิบูลสงคราม 3)
สะพานพระราม 5
N29/1
N29
พิบูลสงคราม 2
ไม่จอด
วัดเขียน
N28
วัดตึก
N27
N26
วัดเขมา
N25
พิบูลสงคราม 1
ไม่จอด
พระราม 7
N24
ข้ามเขต
จังหวัด
นนทบุรี
กรุงเทพ
N23
วัดสร้อยทอง
บางโพ บางอ้อ – เตาปูน
N22
บางโพ
N21
เกียกกาย
N20
เขียวไข่กา
จอดเป็นบางเที่ยว
N19
กรมชลประทาน
จอดเป็นบางเที่ยว
N18
พายัพ
วัดเทพากร
N17/1
ไม่จอด
วัดเทพนารี
N17
ไม่จอด
สะพานกรุงธน
N16
N15
เทเวศร์
พระราม 8
N14
ไม่จอด
N13
พระอาทิตย์
พระปิ่นเกล้า
N12
ท่ารถไฟ
N11
พรานนก (วังหลัง)
N10
N9
ท่าช้าง
N8
ท่าเตียน
ปิดปรับปรุง จอดที่ท่าวัดอรุณแทน
วัดอรุณ
สนามไชย อิสรภาพ – สามยอด
N7
ราชินี
N6/1
ยอดพิมาน
ไม่จอด
N6
สะพานพุทธ
N5
ราชวงศ์
N4
กรมเจ้าท่า
N3
สี่พระยา
ไอคอนสยาม
N2/1
สายธงส้มเพิ่มจุดจอดชั่วคราว
N2
วัดม่วงแค
ไม่จอด
N1
โอเรียนเต็ล
สะพานตากสิน กรุงธนบุรี – สุรศักดิ์
CEN
สาทร
S1
วัดเศวตฉัตร
ปิดปรับปรุง
S2
วัดวรจรรยาวาส
จอดเป็นบางเที่ยว
S3
วัดราชสิงขร
ข้อมูล ณ วันที่ 26 ธันวาคม 2565

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "เกี่ยวกับเรา | เรือด่วนเจ้าพระยา". CPX.
  2. ศรีวิลาศ, นภษร (2020-05-10). "สุภัทรา กิจการเดินเรืออายุ 100 ปีของไทยที่หาโอกาสใหม่ได้ในทุกวิกฤต". The Cloud.
  3. "เรือโดยสาร | เส้นทางและตารางเรือ | Chao Phraya Express Boat เรือด่วนเจ้าพระยา". Express Boat.
  4. "ThaiPBS Copyrights - Program". www2.thaipbs.or.th.
  5. LivingPop, Fuse (2022-04-21). "รู้จักกับ "เรือด่วนเจ้าพระยา" เคล็ดลับการเดินทางหนีรถติดบนท้องถนนใน กทม. (มีแผนที่+ตารางเรือให้โหลดด้วยนะ)". Living Pop.
  6. "Chao Phraya Tourist Boat". chaophrayatouristboat.com.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]