กอลล์

พิกัด: 6°3′13″N 80°12′42″E / 6.05361°N 80.21167°E / 6.05361; 80.21167
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กอลล์
นครกอลล์
ตามเข็มนาฬิกาจากบนซ้าย: วัดกอลล์, ภาพถ่ายทางอากาศของป้อมกอลล์, ข้างในป้อมกอลล์, วิทยาลัยนักบุญอาลอยซีอุส สถานกีฬานานาชาติกอลล์มองจากป้อม, โบสถ์ลัทธิคาลวินของดัตช์แห่งกอลล์, สภาเทศบาลกอลลื
ตามเข็มนาฬิกาจากบนซ้าย: วัดกอลล์, ภาพถ่ายทางอากาศของป้อมกอลล์, ข้างในป้อมกอลล์, วิทยาลัยนักบุญอาลอยซีอุส สถานกีฬานานาชาติกอลล์มองจากป้อม, โบสถ์ลัทธิคาลวินของดัตช์แห่งกอลล์, สภาเทศบาลกอลลื
กอลล์ตั้งอยู่ในศรีลังกา
กอลล์
กอลล์
พิกัด: 6°3′13″N 80°12′42″E / 6.05361°N 80.21167°E / 6.05361; 80.21167
ประเทศศรีลังกา
จังหวัดตอนใต้
การปกครอง
 • ประเภทสภาเทศบาลกอลล์
 • นายกเทศมนตรีPriyantha G. Sahabandu
 • สำนักงานศาลากลางกอลล์
พื้นที่
 • ทั้งหมด16.52 ตร.กม. (6.38 ตร.ไมล์)
ความสูง0 เมตร (0 ฟุต)
ประชากร
 (2020)
 • ทั้งหมด93,118 คน
 • ความหนาแน่น5,712 คน/ตร.กม. (14,790 คน/ตร.ไมล์)
เขตเวลาUTC+5:30 (เขตเวลามาตรฐานศรีลังกา)
รหัสพื้นที่091
เว็บไซต์galle.mc.gov.lk
เมืองเก่ากอลล์และป้อมปราการ
แหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโก
เกณฑ์พิจารณาวัฒนธรรม: iv
อ้างอิง451
ขึ้นทะเบียน1988 (สมัยที่ 12)

กอลล์ (อังกฤษ: Galle), คาลละ (สิงหล: ගාල්ල, อักษรโรมัน: Gālla) หรือ กาลิ (ทมิฬ: காலி, อักษรโรมัน: Kāli) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ปลายแหลมสุดของประเทศศรีลังกา ห่างจากนครโคลัมโบไปทางทิศใต้ประมาณ 119 กิโลเมตร กอลล์เป็นที่รู้จักในชื่อ Gimhathiththa ก่อนที่ชาวโปรตุเกสจะมาถึงในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่เป็นเมืองท่าของเกาะ กอลล์พัฒนาถึงจุดสูงในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ก่อนที่ชาวอังกฤษจะมาถึง ที่พวกเขาพัฒนาอ่าวท่าเรือที่โคลอมโบ แม่น้ำสายหลักคือแม่น้ำคิง (Gin) ที่เริ่มจาก Gongala Kanda และผ่านหมู่บ้านอย่างเช่น Neluwa, Nagoda, Baddegama, Thelikada, Wakwella จนบรรจบกับทะเลที่ Ginthota ใน Wakwella สะพานที่ข้ามแม่น้ำที่นี่ถือเป็นสะพานที่ยาวที่สุดในศรีลังกา

เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม ค.ศ. 2004 เมืองได้รับความเสียหายจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547 มีคนตายกว่าพันคนที่เมืองนี้เมืองเดียว

ภูมิอากาศ[แก้]

ข้อมูลภูมิอากาศของกอลล์
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 34.9
(94.8)
34.6
(94.3)
36.4
(97.5)
35.5
(95.9)
35.3
(95.5)
32.6
(90.7)
31.2
(88.2)
31.3
(88.3)
31.2
(88.2)
33.2
(91.8)
33.4
(92.1)
33.5
(92.3)
36.4
(97.5)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 29.0
(84.2)
29.0
(84.2)
29.9
(85.8)
30.6
(87.1)
30.6
(87.1)
29.8
(85.6)
29.0
(84.2)
28.6
(83.5)
28.4
(83.1)
28.5
(83.3)
28.7
(83.7)
29.1
(84.4)
29.3
(84.7)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 22.8
(73)
23.0
(73.4)
23.9
(75)
24.8
(76.6)
25.5
(77.9)
25.2
(77.4)
24.8
(76.6)
24.7
(76.5)
24.7
(76.5)
24.1
(75.4)
23.5
(74.3)
23.1
(73.6)
24.2
(75.6)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 18.7
(65.7)
19.4
(66.9)
17.1
(62.8)
18.2
(64.8)
17.1
(62.8)
20.7
(69.3)
20.9
(69.6)
20.9
(69.6)
20.4
(68.7)
20.7
(69.3)
18.1
(64.6)
18.9
(66)
17.1
(62.8)
ปริมาณฝน มม (นิ้ว) 85.1
(3.35)
70.5
(2.776)
111.3
(4.382)
206.8
(8.142)
290.4
(11.433)
188.2
(7.409)
163.2
(6.425)
185.9
(7.319)
255.8
(10.071)
322.7
(12.705)
321.0
(12.638)
176.9
(6.965)
2,377.8
(93.614)
วันที่มีฝนตกโดยเฉลี่ย 8 6 9 12 16 17 16 16 18 18 16 12 164
แหล่งที่มา 1: World Meteorological Organisation[1]
แหล่งที่มา 2: Department of Meteorology (records up to 2007)[2]


ตัวนคร[แก้]

ย่าน[แก้]

นครกอลล์มีย่านต่าง ๆ ที่แบ่งออกเป็น 20 ย่าน:[3]

  • Gintota
  • Dadalla
  • Bope
  • Kumbalwella
  • Madawalamulla
  • Deddugoda
  • Maitipe
  • Dangedara
  • Bataganvila
  • Sangamiththapura
  • Galwadugoda
  • Kandewaththa
  • Kaluwella
  • Galle Town
  • Weliwaththa
  • Thalapitiya
  • Makuluwa
  • Milidduwa
  • Magalle
  • Katugoda
  • Imaduwa

เมืองพี่น้อง[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "World Weather Information Service — Galle". World Meteorological Organisation. สืบค้นเมื่อ 9 May 2016.
  2. "Ever Recorded Daily Extreme Values" (PDF). Department of Meteorology. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 29 December 2009. สืบค้นเมื่อ 8 December 2016.
  3. "Galle Municipal Council Ward Map". Galle city. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-07-29. สืบค้นเมื่อ 2022-11-19.
  4. "Galle Library". Love Sri Lanka. สืบค้นเมื่อ 2022-04-26.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]