ยูฟ่าอินเตอร์โตโตคัพ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก อินเตอร์โตโตคัพ)
ยูฟ่าอินเตอร์โตโตคัพ
logo
ก่อตั้งค.ศ. 1961
(ครอบครองโดยยูฟ่าในปี ค.ศ. 1995)
ยกเลิกค.ศ. 2008
ภูมิภาคยุโรป (ยูฟ่า)
จำนวนทีม50
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุดเยอรมนี ชตุทท์การ์ท (3 สมัย)

ยูฟ่าอินเตอร์โตโตคัพ (อังกฤษ: UEFA Intertoto Cup) [1] เป็นการแข่งขันฟุตบอลของสโมสรฟุตบอลต่าง ๆ ในทวีปยุโรป จัดการแข่งขันโดยสหภาพสมาคมฟุตบอลยุโรป (ยูฟ่า) เริ่มก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1961 ในอดีตเคยเป็นการแข่งขันฟุตบอลเพื่อคัดเลือกหาทีมเข้าไปแข่งขันในรายการยูฟ่าคัพ[2]โดยทีมที่จะเข้าแข่งขันจะต้องทำการลงทะเบียนสมัครล่วงหน้า ซึ่งต่างจากฟุตบอลรายการอื่น ๆ ของยุโรปที่ถูกจัดแบ่งสัดส่วนไว้อัตโนมัติ[3]หลังเสร็จสิ้นการแข่งขันประจำปี 2008 รายการนี้ได้ถูกสหพันธ์ฟุตบอลยุโรปยุบลง เพื่อไปเป็นส่วนหนึ่งของยูฟ่ายูโรปาลีกรอบคัดเลือกหรือยูฟ่าคัพเดิม

ทำเนียบผู้ชนะเลิศแต่ละปี[แก้]

2006–2008[แก้]

ปี ชนะเลิศอันดับดีที่สุดของกลุ่ม ชนะเลิศ
2008 โปรตุเกส บรากา อังกฤษ แอสตันวิลลา สเปน เดปอร์ติโบเดลาโกรุญญา เยอรมนี ชตุทท์การ์ท นอร์เวย์ โรเซนบอร์ก อิตาลี นาโปลี
ฝรั่งเศส แรน โรมาเนีย วาสลูอี สวีเดน เอลฟ์บอร์ก สวิตเซอร์แลนด์ กราสฮอปเปอร์ ออสเตรีย สตวร์ม กราซ
2007 เยอรมนี ฮัมบวร์ค สเปน อัตเลติโกเดมาดริด เดนมาร์ก อัลบอร์ก บีเค อิตาลี ซัมป์โดเรีย อังกฤษ แบล็กเบิร์นโรเวอส์ ฝรั่งเศส ล็องส์
โปรตุเกส ไลเรีย ออสเตรีย ราปิด เวียนนา สวีเดน ฮัมมาร์บี โรมาเนีย โอตเซลุล กาลาตซ์ คาซัคสถาน โทบอล คอสตาเนย์
2006 อังกฤษ นิวคาสเซิลยูไนเต็ด ฝรั่งเศส โอแซร์ สวิตเซอร์แลนด์ กราสฮอปเปอร์ เดนมาร์ก โอเดนเซ ฝรั่งเศส มาร์แซย์ เยอรมนี แฮร์ทา เบเอ็สเซ
ตุรกี เคย์เสรีสปอร์ ไซปรัส เอสมิคอส อาร์ตเลอร์ เนเธอร์แลนด์ ตแว็นเตอ ออสเตรีย เอสเฟา รีด สโลวีเนีย มาริบอร์

1995–2005[แก้]

ปี ชนะเลิศ รองชนะเลิศ ผลคะแนน
2005 เยอรมนี ฮัมบวร์ค สเปน บาเลนเซีย 1–0
ฝรั่งเศส ล็องส์ โรมาเนีย ซีเอฟอาร์ คลูจ์ 4–2
ฝรั่งเศส มาร์แซย์ สเปน เดปอร์ติโบเดลาโกรุญญา 5–3
2004 ฝรั่งเศส ลีล โปรตุเกส ไลเรีย 2–0 (ต่อเวลาพิเศษ)
เยอรมนี ชัลเคอ 04 เช็กเกีย สโลวาน ลิเบเรก 3–1
สเปน บิยาร์เรอัล สเปน อัตเลติโกเดมาดริด 2–2 (3–1 on การดวลลูกโทษ)
2003 เยอรมนี ชัลเคอ 04 ออสเตรีย เอฟซี พาสซิง 2–0
สเปน บิยาร์เรอัล เนเธอร์แลนด์ ฮีเรนวีน 2–1
อิตาลี เปรูจา เยอรมนี โวล์ฟสบวร์ก 3–0
2002 สเปน มาลากา สเปน บิยาร์เรอัล 2–1
อังกฤษ ฟูลัม อิตาลี โบโลญญา 5–3
เยอรมนี ชตุทท์การ์ท ฝรั่งเศส ลีล 2–1
2001 อังกฤษ แอสตันวิลลา สวิตเซอร์แลนด์ บาเซิล 5–2
ฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง อิตาลี เบรสชา 1–1 (a)
ฝรั่งเศส ทรัวส์ อังกฤษ นิวคาสเซิลยูไนเต็ด 4–4 (a)
2000 อิตาลี อูดีเนเซ เช็กเกีย ซิกม่า โอโลมุช 6–4
สเปน เซลตาเดบิโก รัสเซีย เซนิตเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก 4–3
เยอรมนี ชตุทท์การ์ท ฝรั่งเศส โอแซร์ 3–1
1999 ฝรั่งเศส มงเปอลีเย เยอรมนี ฮัมบวร์ค 2–2 (3–0 on การดวลลูกโทษ)
อิตาลี ยูเวนตุส ฝรั่งเศส แรน 4–2
อังกฤษ เวสต์แฮมยูไนเต็ด ฝรั่งเศส แม็ส 3–2
1998 สเปน บาเลนเซีย ออสเตรีย เร็ดบุลซัลทซ์บวร์ค 4–1
เยอรมนี แวร์เดอร์เบรเมิน เซอร์เบียและมอนเตเนโกร วอจ์โวดิน่า 2–1
อิตาลี โบโลญญา โปแลนด์ รุช ซอร์ซอฟ 3–0
1997 ฝรั่งเศส บัสตียา สวีเดน ฮาล์มสตัดส์ 2–1
ฝรั่งเศส ลียง ฝรั่งเศส มงเปอลีเย 4–2
ฝรั่งเศส โอแซร์ เยอรมนี ดุ๊ยส์บวร์ก 2–0
1996 เยอรมนี คาร์ลสรูห์ เบลเยียม ลีแอช 3–2
ฝรั่งเศส แก็งก็อง รัสเซีย โรเตอร์โวลโกกราด 2–2 (a)
เดนมาร์ก ซิลเคบอร์ก โครเอเชีย เซเชสต้า 2–2 (a)
1995 ฝรั่งเศส สทราซบูร์ ออสเตรีย ทิโรล อินส์บรุค 7–2
ฝรั่งเศส บอร์โด เยอรมนี คาร์ลสรูห์ 4–2

1967–1994[แก้]

ระบบที่ไม่ใช่ภูมิภาค (1969, 1971–1994)[แก้]
ปี Group 1 Group 2 Group 3 Group 4 Group 5 Group 6 Group 7 Group 8 Group 9 Group 10 Group 11 Group 12
1994 สวีเดน ฮาล์มสตัดส์ สวิตเซอร์แลนด์ ยังบอยส์ เบิร์น สวีเดน ฮัมแมนนา อึนโดสคิบม เยอรมนี ฮัมบวร์ค ฮังการี เบเกชชอบอ สโลวาเกีย สโลวาน บราติสลาวา สวิตเซอร์แลนด์ กราสฮอปเปอร์คลับซูริก ออสเตรีย ออสเตรีย เวียนนา
1993 ออสเตรีย ราปิด เวียนนา สวีเดน เทรลเลบอริส สวีเดน นอร์โคปิ้ง สวีเดน มัลโม่ เชโกสโลวาเกีย สลาเวีย ปราก สวิตเซอร์แลนด์ ซูริค สวิตเซอร์แลนด์ ยังบอยส์ เบิร์น เยอรมนี ดินาโม เดรสเดน
1992 เดนมาร์ก โคเปนเฮเก้น ฮังการี ซิโอฟอค เยอรมนี เออร์ดิงเกิน เยอรมนี คาร์ลสรูห์ ออสเตรีย ราปิด เวียนนา เดนมาร์ก ลิงบี้ เชโกสโลวาเกีย สโลวาน บราติสลาวา เดนมาร์ก อัลบอร์ก เชโกสโลวาเกีย สลาเวีย ปราก บัลแกเรีย โลโกโมทีฟ กอร์น่า ออร์ยาโฮวิทซา
1991 สวิตเซอร์แลนด์ เนอชาแตล ซามักซ์ สวิตเซอร์แลนด์ โลซาน สปอร์ต ออสเตรีย เร็ดบุลซัลทซ์บวร์ค เชโกสโลวาเกีย ดุคล่า บานสก้า ไบสตริก้า เดนมาร์ก โบครับเบิล สวิตเซอร์แลนด์ กราสฮอปเปอร์คลับซูริก เยอรมนี เออร์ดิงเกิน เชโกสโลวาเกีย ดูนาจสก้า สเตรด้า ออสเตรีย ทิโรล อินส์บรุค สวีเดน โอเรโบร
1990 สวิตเซอร์แลนด์ เนอชาแตล ซามักซ์ ออสเตรีย ทิโรล อินส์บรุค โปแลนด์ เลช พอซนาน เชโกสโลวาเกีย สโลวาน บราติสลาวา สวีเดน มัลโม่ สวีเดน จีเอไอเอส สวิตเซอร์แลนด์ ลูเซิร์น ออสเตรีย เฟริส เวียนนา เยอรมนีตะวันออก เชมนิตเซอร์ เยอรมนีตะวันตก เออร์ดิงเกิน เดนมาร์ก โอเดนเซ
1989 สวิตเซอร์แลนด์ ลูเซิร์น เดนมาร์ก โบครับเบิล ออสเตรีย ทิโรล อินส์บรุค สวิตเซอร์แลนด์ กราสฮอปเปอร์คลับซูริก ฮังการี ทาทาบันย่า เดนมาร์ก นาสเอสทิว สวีเดน โอเรโบร เชโกสโลวาเกีย สปาร์ต้า ปราก เชโกสโลวาเกีย บานิค ออสตราว่า สวีเดน ออร์ไกรท์ เยอรมนีตะวันตก ไคเซิร์สเลาเทิร์น
1988 สวีเดน มัลโม่ สวีเดน โกเตบอร์ก เชโกสโลวาเกีย บานิค ออสตราว่า ออสเตรีย ออสเตรีย เวียนนา สวิตเซอร์แลนด์ ยังบอยส์ เบิร์น เยอรมนีตะวันตก ไคเซิร์สเลาเทิร์น เดนมาร์ก ไอคาส เยอรมนีตะวันออก คาร์ล ไซส์ เจน่า สวิตเซอร์แลนด์ กราสฮอปเปอร์คลับซูริก เยอรมนีตะวันตก คาร์ลสรูห์ เยอรมนีตะวันตก เออร์ดิงเกิน
1987 เยอรมนีตะวันออก คาร์ล ไซส์ เจน่า โปแลนด์ โปกอน เซซิน เยอรมนีตะวันออก แอร์ซเกเบียร์เก้ เอา ฮังการี ทาทาบันย่า สวีเดน มัลโม่ สวีเดน โซลน่า บัลแกเรีย เอเทอร์ เวลิคอ เทอร์นอวอ เดนมาร์ก บรอนด์บี้
1986 เยอรมนีตะวันตก ฟอร์ทูนาดึสเซิลดอร์ฟ เยอรมนีตะวันออก ยูเนี่ยน เบอร์ลิน สวีเดน มัลโม่ เยอรมนีตะวันออก ร็อต-ไวส์ส เออร์เฟือร์ธ เชโกสโลวาเกีย ซิกม่า โอโลมุช ฮังการี อูจเปสต์ เดนมาร์ก บรอนด์บี้ เดนมาร์ก ลิงบี้ โปแลนด์ เลช พอซนาน สวีเดน โกเตบอร์ก เชโกสโลวาเกีย สลาเวีย ปราก เยอรมนีตะวันออก คาร์ล ไซส์ เจน่า
1985 เยอรมนีตะวันตก แวร์เดอร์เบรเมิน เยอรมนีตะวันออก ร็อต-ไวส์ส เออร์เฟือร์ธ สวีเดน โกเตบอร์ก สวีเดน โซลน่า เยอรมนีตะวันออก แอร์ซเกเบียร์เก้ เอา เชโกสโลวาเกีย สปาร์ต้า ปราก โปแลนด์ กูร์ญิกซับแช อิสราเอล มัคคาบี้ ไฮฟา เชโกสโลวาเกีย บานิค ออสตราว่า ฮังการี อูจเปสต์ ฮังการี บูดาเปสต์
1984 เชโกสโลวาเกีย โบฮีเมี่ยนส์ 1905 เดนมาร์ก เอจีเอฟ อาร์ฮุส เยอรมนีตะวันตก ฟอร์ทูนาดึสเซิลดอร์ฟ เบลเยียม สตองดาร์ด ลีแอช สวีเดน โซลน่า สวีเดน มัลโม่ ฮังการี โมล วิดี้ อิสราเอล มัคคาบี้ เนทันย่า สวิตเซอร์แลนด์ ซูริค โปแลนด์ จีเคเอส คาโตวีตเซ
1983 เนเธอร์แลนด์ ตแว็นเตอ สวิตเซอร์แลนด์ ยังบอยส์ เบิร์น โปแลนด์ โปกอน เซซิน อิสราเอล มัคคาบี้ เนทันย่า สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย สโลโบดา ทุซล่า เชโกสโลวาเกีย โบฮีเมี่ยนส์ 1905 สวีเดน โกเตบอร์ก สวีเดน ฮัมมาร์บี้ ฮังการี โมล วิดี้ เชโกสโลวาเกีย วิลโคไว
1982 เบลเยียม สตองดาร์ด ลีแอช โปแลนด์ วิดซอว์ ลอดส์ เดนมาร์ก เอจีเอฟ อาร์ฮุส เดนมาร์ก ลิงบี้ ออสเตรีย แอดมิร่า วอคเกอร์ โมด์ลิ่ง เชโกสโลวาเกีย โบฮีเมี่ยนส์ 1905 สวีเดน เบรด สวีเดน ออสเตอร์อีส สวีเดน โกเตบอร์ก
1981 ออสเตรีย เวียนนา สปอร์ตคลับ เบลเยียม สตองดาร์ด ลีแอช เยอรมนีตะวันตก แวร์เดอร์เบรเมิน สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย บูดัคโนส ปอดโกริก้า เดนมาร์ก เอจีเอฟ อาร์ฮุส เบลเยียม โมแลนแบร์ก สวีเดน โกเตบอร์ก เยอรมนีตะวันตก ชตุทการ์เทอร์คิคเคิร์ส เชโกสโลวาเกีย เชบ
1980 เบลเยียม สตองดาร์ด ลีแอช เชโกสโลวาเกีย โบฮีเมี่ยนส์ 1905 อิสราเอล มัคคาบี้ เนทันย่า เชโกสโลวาเกีย สปาร์ต้า ปราก เชโกสโลวาเกีย นิตร้า สวีเดน ฮาล์มสตัดส์ สวีเดน มัลโม่ สวีเดน โกเตบอร์ก สวีเดน เอลฟ์บอร์ก
1979 เยอรมนีตะวันตก แวร์เดอร์เบรเมิน สวิตเซอร์แลนด์ กราสฮอปเปอร์คลับซูริก เยอรมนีตะวันตก ไอน์ทรัคท์เบราน์ชไวค์ เชโกสโลวาเกีย โบฮีเมี่ยนส์ 1905 เชโกสโลวาเกีย สปาตัค เทอร์นาวา เชโกสโลวาเกีย ซโปรยอจก้า เบอร์โน่ บัลแกเรีย พีริน บลากอเยฟกราด เชโกสโลวาเกีย บานิค ออสตราว่า
1978 เยอรมนีตะวันตก ดุ๊ยส์บวร์ก เชโกสโลวาเกีย สลาเวีย ปราก เยอรมนีตะวันตก แฮร์ทา เบเอ็สเซ เยอรมนีตะวันตก ไอน์ทรัคท์เบราน์ชไวค์ สวีเดน มัลโม่ เชโกสโลวาเกีย โลโคโมติวา โคซิส เชโกสโลวาเกีย ทาทราน ปรีซอฟ อิสราเอล มัคคาบี้ เนทันย่า ออสเตรีย เกิลเซอร์ เอเค
1977 สวีเดน ฮาล์มสตัดส์ เยอรมนีตะวันตก ดุ๊ยส์บวร์ก เชโกสโลวาเกีย อินเตอร์ บราติสลาวา บัลแกเรีย สลาเวีย โซเฟีย เชโกสโลวาเกีย สลาเวีย ปราก เดนมาร์ก เฟลม เชโกสโลวาเกีย ทีทีเอส เตรนชีน เชโกสโลวาเกีย สโลวาน บราติสลาวา สวีเดน ออสเตอร์อีส โปแลนด์ โปกอน เซซิน
1976 สวิตเซอร์แลนด์ ยังบอยส์ เบิร์น เยอรมนีตะวันตก แฮร์ทา เบเอ็สเซ เชโกสโลวาเกีย เทปลิเซ่ เชโกสโลวาเกีย บานิค ออสตราว่า เชโกสโลวาเกีย ซโปรยอจก้า เบอร์โน่ เชโกสโลวาเกีย สปาตัค เทอร์นาวา เชโกสโลวาเกีย อินเตอร์ บราติสลาวา สวีเดน ออสเตอร์อีส สวีเดน เยอร์การ์เดนส์ สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย วอจ์โวดิน่า โปแลนด์ วิดซอว์ ลอดส์
1975 ออสเตรีย ทิโรล อินส์บรุค ออสเตรีย แอลเอเอสเค ลินซ์ เยอรมนีตะวันตก ไอน์ทรัคท์เบราน์ชไวค์ โปแลนด์ ซาเกิลบี ซอสโนเวียค เชโกสโลวาเกีย ซโปรยอจก้า เบอร์โน่ โปแลนด์ ริบนิค สวีเดน แอตวิดาเบิร์ก เยอรมนีตะวันตก ไคเซิร์สเลาเทิร์น โปรตุเกส เบเลเนนเซส สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ซาเวส เซนีตซา
1974 สวิตเซอร์แลนด์ ซูริค เยอรมนีตะวันตก ฮัมบวร์ค สวีเดน มัลโม่ เบลเยียม สตองดาร์ด ลีแอช เชโกสโลวาเกีย สโลวาน บราติสลาวา เชโกสโลวาเกีย สปาตัค เทอร์นาวา เยอรมนีตะวันตก ดุ๊ยส์บวร์ก เชโกสโลวาเกีย บานิค ออสตราว่า เชโกสโลวาเกีย โคซิเซ่ โปรตุเกส จี.ดี. ฟาบิต
1973 เยอรมนีตะวันตก ฮันโนเฟอร์ 96 เชโกสโลวาเกีย สโลวาน บราติสลาวา เยอรมนีตะวันตก แฮร์ทา เบเอ็สเซ สวิตเซอร์แลนด์ ซูริค โปแลนด์ ริบนิค เชโกสโลวาเกีย เทปลิเซ่ เนเธอร์แลนด์ ไฟเยอโนร์ด โปแลนด์ วิสล่า คราคอฟ เชโกสโลวาเกีย นิตร้า สวีเดน ออสเตอร์อีส
1972 เชโกสโลวาเกีย นิตร้า สวีเดน นอร์โคปิ้ง ฝรั่งเศส แซ็งเตเตียน เชโกสโลวาเกีย สลาเวีย ปราก เชโกสโลวาเกีย สโลวาน บราติสลาวา เยอรมนีตะวันตก ไอน์ทรัคท์เบราน์ชไวค์ เยอรมนีตะวันตก ฮันโนเฟอร์ 96 ออสเตรีย แอลเอเอสเค ลินซ์
1971 เยอรมนีตะวันตก แฮร์ทา เบเอ็สเซ โปแลนด์ สตอล เมียเลช สวิตเซอร์แลนด์ เซอร์เวตต์ เชโกสโลวาเกีย ฟ็อตบอล ทริเน็ค สวีเดน แอตวิดาเบิร์ก เยอรมนีตะวันตก ไอน์ทรัคท์เบราน์ชไวค์ ออสเตรีย เร็ดบุลซัลทซ์บวร์ค
1969 สวีเดน มัลโม่ โปแลนด์ โซมเวียตกี้ เบตอม เยอรมนีตะวันตก สปีล แฟร์ เชโกสโลวาเกีย ซิลิน่า สวีเดน นอร์โคปิ้ง เชโกสโลวาเกีย ทีทีเอส เตรนชีน เดนมาร์ก เฟลม โปแลนด์ วิสล่า คราคอฟ โปแลนด์ ออดราออปอเล
ระบบภูมิภาค (1967, 1968, 1970)[แก้]
ปี Group A1 Group A2 Group A3 Group A4 Group A5 Group A6 Group B1 Group B2 Group B3 Group B4 Group B5 Group B6 Group B7 Group B8
1970 เชโกสโลวาเกีย สโลวาน บราติสลาวา เยอรมนีตะวันตก ฮัมบวร์ค เชโกสโลวาเกีย เทปลิเซ่ เนเธอร์แลนด์ เอ็มวีวี มาสทริคท์ เชโกสโลวาเกีย เอ็มเอฟเค โคซิเซ่ เยอรมนีตะวันตก ไอน์ทรัคท์เบราน์ชไวค์ เชโกสโลวาเกีย สลาเวีย ปราก ฝรั่งเศส มาร์แซย์ สวีเดน ออสเตอร์อีส โปแลนด์ วิสล่า คราคอฟ ออสเตรีย เร็ดบุลซัลทซ์บวร์ค เชโกสโลวาเกีย บานิค ออสตราว่า โปแลนด์ โบโลญา บายทม
1968 เยอรมนีตะวันตก เนิร์นแบร์ก เนเธอร์แลนด์ อายักซ์ โปรตุเกส สปอร์ติงลิสบอน เนเธอร์แลนด์ ไฟเยอโนร์ด สเปน อัสปัญญ็อล เนเธอร์แลนด์ เอดีโอ เดน ฮาก เยอรมนีตะวันออก เชมนิตเซอร์ เยอรมนีตะวันออก ฮันซ่า รอสต๊อค เชโกสโลวาเกีย สโลวาน บราติสลาวา เชโกสโลวาเกีย เอ็มเอฟเค โคซิเซ่ เชโกสโลวาเกีย โลโคโมติว่า โคซิเช โปแลนด์ ออดราออปอเล เยอรมนีตะวันตก ไอน์ทรัคท์เบราน์ชไวค์ โปแลนด์ ลีเกีย วอร์ซอว์
1967 สวิตเซอร์แลนด์ ลูกาโน เนเธอร์แลนด์ ไฟเยอโนร์ด ฝรั่งเศส ลีล เบลเยียม ลีร์เซ่ เยอรมนีตะวันตก ฮันโนเฟอร์ 96 โปแลนด์ ซาเกิลบี ซอสโนเวียค โปแลนด์ โบโลญา บายทม สวีเดน โกเตบอร์ก โปแลนด์ รุช ซอร์ซอฟ เชโกสโลวาเกีย โคซิเซ่ เดนมาร์ก โคเปนเฮเกน โบชูกด์ เยอรมนีตะวันตก ฟอร์ทูนาดึสเซิลดอร์ฟ

1961–1967[แก้]

ฤดูกาล ชนะเลิศ รองชนะเลิศ ผลคะแนน
1966–67 เยอรมนีตะวันตก ไอน์ทรัค แฟร้งค์เฟิร์ต เชโกสโลวาเกีย อินเตอร์ บราติสลาวา 4 – 3
1965–66 เยอรมนีตะวันออก โลโคโมชีวาไลพ์ซิก สวีเดน นอร์โคปิ้ง 4 – 1
1964–65 โปแลนด์ โบโลญา บายทม เยอรมนีตะวันออก โลโคโมชีวาไลพ์ซิก 5 – 4
1963–64 เชโกสโลวาเกีย อินเตอร์ บราติสลาวา โปแลนด์ โบโลญา บายทม 1 – 0*
1962–63 เชโกสโลวาเกีย อินเตอร์ บราติสลาวา อิตาลี ปาโดว่า 1 – 0*
1961–62 เนเธอร์แลนด์ อายักซ์ เนเธอร์แลนด์ ไฟเยอโนร์ด 4 – 2*
* - Single match finals (although 1962–63 has been unofficially reported (http://www.rsssf.com/tablesi/intertoto.html) as over two legs)

ทำเนียบผู้ชนะเลิศจำแนกตามประเทศ[แก้]

ประเทศ ชนะเลิศ รองชนะเลิศ ทีมชนะเลิศ ทีมรองชนะเลิศ
ฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 16 5 โอแซร์ (2), ล็องส์ (2), มาร์แซย์ (2), บัสตียา, บอร์โด, แก็งก็อง, ลีล, ลียง, มงเปอลีเย, ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง, แรน, สทราซบูร์, ทรัวส์ โอแซร์, ลีล, แม็ส, มงเปอลีเย, แรน
เยอรมนี เยอรมนี 10 4 ชตุทท์การ์ท (3), ฮัมบวร์ค (2), ชัลเคอ 04 (2), แฮร์ทา เบเอ็สเซ, คาร์ลสรูห์, แวร์เดอร์เบรเมิน ดุ๊ยส์บวร์ก, ฮัมบวร์ค, คาร์ลสรูห์, โวล์ฟสบวร์ก
สเปน สเปน 7 5 บิยาร์เรอัล (2), เซลตาเดบิโก, มาลากา, บาเลนเซีย, เดปอร์ติโบเดลาโกรุญญา, อัตเลติโกเดมาดริด บิยาร์เรอัล (2), อัตเลติโกเดมาดริด, เดปอร์ติโบเดลาโกรุญญา, บาเลนเซีย
อิตาลี อิตาลี 6 2 โบโลญญา, ยูเวนตุส, นาโปลี, เปรูจา, ซัมป์โดเรีย, อูดีเนเซ โบโลญญา, เบรสชา
อังกฤษ อังกฤษ 6 1 แอสตันวิลลา (2), แบล็กเบิร์นโรเวอส์, ฟูลัม, นิวคาสเซิลยูไนเต็ด, เวสต์แฮมยูไนเต็ด นิวคาสเซิลยูไนเต็ด
ออสเตรีย ออสเตรีย 3 3 ราปิด เวียนนา, เอสเฟา รีด, สตวร์ม กราซ เอฟซี พาสซิง, เร็ดบุลซัลทซ์บวร์ค, ทิโรล อินส์บรุค
เดนมาร์ก เดนมาร์ก 3 1 อัลบอร์ก, โอเดนเซ, ซิลเคบอร์ก โอเดนเซ
โรมาเนีย โรมาเนีย 2 3 โอตเซลุล กาลาตซ์, วาสลูอี ซีเอฟอาร์ คลูจ์, คอนสตันซา, โกริน บิสทริตา
สวีเดน สวีเดน 2 2 เอลฟ์บอร์ก, ฮัมมาร์บี ฮาล์มสตัดส์, คัลมาร์
โปรตุเกส โปรตุเกส 2 1 บรากา, ไลเรีย ไลเรีย
สวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ 2 1 กราสฮอปเปอร์ (2) บาเซิล
เนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 1 3 ตแว็นเตอ ฮีเรนวีน, เบรด้า, อูเทร็คท์
ตุรกี ตุรกี 1 2 เคย์เสรีสปอร์ ชีวาสสปอร์, แทร็บซอนสปอร์
นอร์เวย์ นอร์เวย์ 1 1 โรเซนบอร์ก ลีลล์สตรอม
ไซปรัส ไซปรัส 1 เอสมิคอส อาร์ตเลอร์
คาซัคสถาน คาซัคสถาน 1 โทบอล คอสตาเนย์
สโลวีเนีย สโลวีเนีย 1 มาริบอร์
รัสเซีย รัสเซีย 5 เอฟซี มอสโก, โรเตอร์โวลโกกราด, รูบิน คาซาน, แซตเทิร์น, เซนิตเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก
เบลเยียม เบลเยียม 3 เกนท์ (2), ลีแอช
กรีซ กรีซ 3 ลาริสซ่า, เครเต้, พานิโอนิออส
ยูเครน ยูเครน 3 เชอร์โนโมเร็ตส์ โอเดสซ่า, ดนิโปร ดนิโปรเปตรอฟส์ค, ทาฟเรีย ซิเมียร์โอโป
บัลแกเรีย บัลแกเรีย 2 เชอร์โน มอร์ วาร์น่า, ซิลเบอเลอเลส เบอกาน
เช็กเกีย เช็กเกีย 2 ซิกม่า โอโลมุช, สโลวาน ลิเบเรก
อิสราเอล อิสราเอล 2 บีไน ซาคห์นิน, มัคคาบี้ เปตาห์ ทิคว่า
มอลโดวา มอลโดวา 2 ดาเซีย ชิซินัว, เชอร์ริฟ ติราสโพล
อาเซอร์ไบจาน อาเซอร์ไบจาน 1 เนฟท์ชิ บาคู
โครเอเชีย โครเอเชีย 1 เซเชสต้า
เซอร์เบียและมอนเตเนโกร เซอร์เบียและมอนเตเนโกร 1 วอจ์โวดิน่า
ฮังการี ฮังการี 1 บูดาเปสต์ ฮอนเวด
ลัตเวีย ลัตเวีย 1 ริกา
ลิทัวเนีย ลิทัวเนีย 1 วิลนีอุส
โปแลนด์ โปแลนด์ 1 รุช ซอร์ซอฟ
สกอตแลนด์ สกอตแลนด์ 1 ฮิเบอร์เนียน
เซอร์เบีย เซอร์เบีย 1 ฮัจดุคคูลา

อ้างอิง[แก้]

  1. Chaplin, Mark (1 ธันวาคม 2007). "Champions League changes agreed". uefa.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 กุมภาพันธ์ 2011. สืบค้นเมื่อ 14 กุมภาพันธ์ 2011.
  2. Elbech, Søren Florin. "Background on the Intertoto Cup". สืบค้นเมื่อ 7 มิถุนายน 2006.
  3. "UEFA Intertoto Cup history". UEFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 มีนาคม 2006. สืบค้นเมื่อ 7 มิถุนายน 2006.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]