อักษรอาหรับสำหรับภาษาเบลารุส

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

อักษรอาหรับสำหรับภาษาเบลารุส (เบลารุส: Беларускі арабскі алфавіт, Biełaruski arabski ałfavit (อักษรละติน) หรืออาราบิตซา (Арабіца, Arabitsa) เป็นระบบการเขียนด้วยอาหรับที่พัฒนาขึ้นเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 20 -21 ประกอบด้วยอักษร 28 ตัวและอักษรเพิ่มเติมอีก 3 ตัว เพื่อแสดงหน่วยเสียงในภาษาเบลารุสที่ไม่มีในภาษาอาหรับ

กีตับ

อักษรอาหรับนี้ใช้โดยชาวลิปกา ตาตาร์ หรือชาวตาตาร์เบลารุสที่ได้รับเชิญให้เข้ามาตั้งถิ่นฐานในเบลารุส ซึ่งในระหว่าง พุทธศตวรรษที่ 19 - 21 พวกเขาได้หยุดใช้ภาษาของตนเองและเริ่มใช้ ภาษาเบลารุสโบราณและเขัยนด้วยอักษรอาหรับ หนังสือที่เป็นวรรณคดีเรียก กีตับ (เบลารุส: "Кітаб"), ซึ่งมาจากภาษาอาหรับที่แปลว่า หนังสือ มีหนังสือภาษาโปแลนด์บางส่วนเขียนด้วยอักษรอาหรับ ซึ่งมีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 22 [1]

อักษรที่เพิ่ม[แก้]

อักษรอาหรับสำหรับภาษาเบลารุสของอักษร-Zh
پ چ ژ
  • สำหรับเสียง /dz/ (дз) และ /ts/ (ц) จะใช้อักษรใหม่คือ:
ࢮ ࢯ‎ ( )

อักษรเหล่านี้ใช้ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 21 - 25 เพื่อเขียนภาษาเบลารุสและภาษาโปแลนด์[1]

  • เสียง /w/ (ў) และ /v/ (в) จะแสดงด้วยเครื่องหมายเดียวกัน:
و

ตารางเปรียบเทียบ[แก้]

สระ[แก้]

สระจะแสดงด้วยเครื่องหมายการออกเสียงเช่นเดียวกันกับภาษาอาหรับ

พยัญชนะ[แก้]

อักษรซีริลลิก อักษรละติน อักษรอาหรับ
รูปเชื่อม รูปเดี่ยว
ท้าย กลาง หน้า
Б б B b ـب ـبـ بـ ب
В в V v ـو و
Г г H h ـه ـهـ هـ ه
Ґ ґ G g ـغ ـغـ غـ غ
Д д D d ـد د
Дж дж Dž dž ـج ـجـ جـ ج
Дзь дзь Dź dź ـࢮ ()
Ж ж Ž ž ـژ ژ
З з Z z ـضـ ضـ ض
Зь зь Ź ź ـز ز
Й й J j ـى ـىـ ىـ ى
К к K k ـق ـقـ قـ ق
Кь кь Kj kj ـك ـكـ كـ ك
Л л, Ль ль Ł ł, L l ـل ـلـ لـ ل
М м M m ـم ـمـ مـ م
Н н, Нь нь N n, Ń ń ـن ـنـ نـ ن
П п P p ـپ ـپـ پـ پ
Р р R r ـر ر
С с S s ـص ـصـ صـ ص
Сь сь Ś ś ـث ـثـ ثـ ث
Т т T t ـط ـطـ طـ ط
Ть ть Tj tj ـت ـتـ تـ ت
Ў ў Ŭ ŭ ـو و
Ф ф F f ـف ـفـ فـ ف
Х х Ch ch ـح ـحـ حـ ح
Ц ц C c ـࢯ ـࢯـ ࢯـ ()
Ць ць Ć ć ـس ـسـ سـ س
Ч ч Č č ـچ ـچـ چـ چ
Ш ш Š š ـش ـشـ شـ ش
ـعـ
ь


ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 Ilya Yevlampiev, Karl Pentzlin and Nurlan Joomagueldinov, N4072 Revised Proposal to encode Arabic characters used for Bashkir, Belarusian, Crimean Tatar, and Tatar languages, ISO/IEC JTC1/SC2/WG2, 20 May 2011. [1]

อ่านเพิ่ม[แก้]

  • Akiner, Shirin. Religious Language of a Belarusian Tatar Kitab: A Cultural Monument of Islam in Europe. Otto Harrassowitz, 2009.
  • Д-р Я. Станкевіч. Беларускія мусульмане і беларуская літаратура арабскім пісьмом. [Адбітка з гадавіка Беларускага Навуковага Таварыства, кн. I.] – Вільня : Друкарня Я. Левіна, 1933 ; Менск : Беларускае коопэрацыйна-выдавецкае таварыства ″Адраджэньне″, 1991 [факсімільн.]. – 3-е выд.
  • Антон Антановіч, "Беларускія тэксты, пісаныя арабскім пісьмом"

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]