หม่อมหลวงเกษตร สนิทวงศ์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ศาสตราจารย์ นายแพทย์ หม่อมหลวงเกษตร สนิทวงศ์ (พ.ศ. 2452 - พ.ศ. 2538) เป็นสูตินรีแพทย์ชาวไทย, อดีตคณบดีคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเลขาธิการสภากาชาดไทย

ประวัติ[แก้]

หม่อมหลวงเกษตร สนิทวงศ์ เกิดในปี พ.ศ. 2452 เป็นบุตรของเจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์) กับท่านผู้หญิงตาด วงศานุประพัทธ์ (ตาด สิงหเสนี) [1] เข้าเรียนชั้นมัธยมศึกษาที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ เมื่อ พ.ศ. 2461[2] จบแพทยศาสตร์จากมหาวิทยาลัยเดอรัม แล้วรับราชการที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ จนเป็นหัวหน้าภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา ระหว่าง พ.ศ. 2496-2512[3] คณบดีคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย[4] และดำรงตำแหน่งเลขาธิการสภากาชาดไทย[5]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. อรวรรณ ทรัพย์พลอย. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงษาธิราชสนิท ปราชญ์ผู้เป็นกำลังของแผ่นดิน. กรุงเทพฯ : สร้างสรรค์บุ๊คส์, 2552. 352 หน้า. ISBN 978-974-341-578-4
  2. "ทำเนียบศิษย์เก่าเทพศิรินทร์". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-03-10. สืบค้นเมื่อ 2009-03-18.
  3. "ประวัติภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-07-08. สืบค้นเมื่อ 2009-03-18.
  4. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการพลเรือน ๑๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๐๓
  5. พระราชกรณียกิจ วันพุธ ที่ 30 กันยายน 2513[ลิงก์เสีย] สำนักราชเลขาธิการ
  6. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๑๐๑ ตอนที่ ๖๗ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๗, ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๒๗
  7. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๙๔ ตอนที่ ๓ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๓๗, ๖ มกราคม ๒๕๒๐
  8. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๘๕ ตอนที่ ๑๒๒ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒๖, ๓๑ ธันวาคม ๒๕๑๑
  9. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญราชการชายแดน, เล่ม ๘๔ ตอนที่ ๑๘ ง หน้า ๗๔๘, ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๑๐
  10. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์, เล่ม ๗๐ ตอนที่ ๑๔ ง หน้า ๖๙๑, ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๔๙๖
  11. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญราชรุจิ, เล่ม ๗๗ ตอนที่ ๘๑ ง หน้า ๒๑๓๙, ๔ ตุลาคม ๒๕๐๓