สีไวโอเลต

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไวโอเลต
 
สเปกตรัม
ความยาวคลื่น380–435 nm
ความถี่790–690 THz
About these coordinates     รหัสสี
Hex triplet#8000FF
sRGBB  (rgb)(128, 0, 255)
CMYKH   (c, m, y, k)(50, 100, 0, 0)
HSV       (h, s, v)(270°, 100%, 100%)
Sourceระบบสี RGB และ CMYK
B: อยู่ในช่วง [0–255] (ไบต์)
H: อยู่ในช่วง [0–100] (ร้อย)

สีไวโอเลต (อังกฤษ: violet) เป็นสีของแสงอยู่ที่แถบสุดท้ายของสเปกตรัมที่มองเห็นได้ มีความยาวคลื่น 380–420 นาโนเมตร[1] สั้นกว่าสีคราม (indigo) ชื่อของสีมาจากดอกไวโอเลต[2][3] และใช้แทนชื่อสีเป็นครั้งแรกในภาษาอังกฤษเมื่อ ค.ศ. 1370[4]

สีไวโอเลตเป็นสีที่อยู่นอกเหนือขอบเขต (gamut) ของปริภูมิสี RGB จึงไม่สามารถผสมในจอคอมพิวเตอร์ออกมาให้ตรงได้ แต่สามารถประมาณได้ว่าอยู่ระหว่างสีน้ำเงินกับสีมาเจนตา ตัวอย่างของวัตถุที่มีสีไวโอเลตเช่น หลอดไฟแบล็กไลต์

ในความหมายที่สอง สีไวโอเลตอาจหมายถึงสีที่เกิดจากการผสมของแสงสีแดงกับแสงสีน้ำเงิน ในกรณีนี้จะให้ผลเป็นสีที่ไม่อยู่ในสเปกตรัมคือสีม่วง ซึ่งสามารถแสดงผลในจอคอมพิวเตอร์ได้

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Georgia State University Department of Physics and Astronomy. "Spectral Colors". HyperPhysics site. สืบค้นเมื่อ 20 October 2017.
  2. "violet, n.1". OED Online. Oxford University Press. สืบค้นเมื่อ 2020-04-06.
  3. "Violet". Webster's Third New International Dictionary, Unabridged. สืบค้นเมื่อ 2020-04-06.
  4. Maerz and Paul. A Dictionary of Color. New York: 1930, McGraw-Hill. Page 207.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Violet