สีน้ำเงิน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
น้ำเงิน
 
สเปกตรัม
ความยาวคลื่นประมาณ 450–495 nm
ความถี่~670–610 THz
About these coordinates     รหัสสี
Hex triplet#0000FF
sRGBB  (rgb)(0, 0, 255)
CMYKH   (c, m, y, k)(100, 100, 20, 0)
HSV       (h, s, v)(240°, 100%, 100%)
SourceHTML/CSS[1]
B: อยู่ในช่วง [0–255] (ไบต์)
H: อยู่ในช่วง [0–100] (ร้อย)

สีน้ำเงิน เป็นหนึ่งในแม่สี ทั้งแม่สีทางแสง และทางวัตถุธาตุ เป็นแม่สีที่มีความยาวคลื่นต่ำที่สุด แสงสีน้ำเงินมีบริเวณช่วงคลื่นระหว่าง 440-490 นาโนเมตร เป็นสีที่ใกล้เคียงกับสีฟ้าและสีกรมท่า และถือเป็น 1 ในแม่สีร่วมกับ สีแดง และสีเหลือง

สีน้ำเงิน เป็นสีในกลุ่มสีโทนเย็น สีน้ำเงินเป็นสีที่สร้างความสุขุมเยือกเย็น หนักแน่นและละเอียดรอบคอบ ใช้ในการสร้างแรงบันดาลใจและการแสดงออกทางศิลปะได้ดีอีกด้วย ขณะที่สีฟ้าให้ความรู้สึกแบบเดียวกับสีเขียว คือ สบายตา ให้ความรู้สึกเป็นอิสระ ปลอดโปร่ง โล่งใจ ลดความร้อนรุ่มกระวนกระวายใจลงได้

สัญลักษณ์สีน้ำเงิน[แก้]

สีประจำสถาบันการศึกษา[แก้]

เฉดสีเว็บ[แก้]

ชื่อที่ใช้ใน
HTML
R G B
Hex
ตัวอย่างสี
Lightcyan E0 FF FF  
Paleturquoise AF EE EE  
Aqua 00 FF FF  
Aquamarine 7F FF D4  
Turquoise 40 E0 D0  
Mediumturquoise 48 D1 CC  
Darkturquoise 00 CE D1  
Powderblue B0 E0 E6  
Lightsteelblue B0 C4 DE  
Lightblue AD D8 E6  
Skyblue 87 CE EB  
Lightskyblue 87 CE FA  
Deepskyblue 00 BF FF  
Cornflowerblue 64 95 ED  
Steelblue 46 82 B4  
Cadetblue 5F 9E A0  
Mediumslateblue 7B 68 EE  
Dodgerblue 1E 90 FF  
Royalblue 41 69 E1  
Blue 00 00 FF  
Mediumblue 00 00 CD  
Darkblue 00 00 8B  
Navy 00 00 80  
Midnightblue 19 19 70  


อ้างอิง[แก้]

  1. "CSS Color Module Level 3". w3.org. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-12-23.
  2. "สีประจำคณะในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-08-26. สืบค้นเมื่อ 2019-03-18.
  3. ราชกิจจานุเบกษา พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยปริญญาในสาขาวิชา อักษรย่อสำหรับสาขาวิชา และครุยวิทยฐานะ ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๒๖ เรียกดูวันที่ 2017-10-28
  4. สีประจำมหาวิทยาลัย คณะ ส่วนงาน เก็บถาวร 2015-09-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เว็บไซต์มหาวิทยาลัยมหิดล
  5. 5.0 5.1 สรุปมติที่ประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 4/2560 เมื่อวันอังคารที่ 21 กุมภาพันธ์ 2560 (โดยมีอาจารย์ ดร. ไพโรจน์ พิทยเมธี อาจารย์ประจำภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผู้จัดทำสีไทยโทน ในการควบคุมและประสานงานเพื่อปรับสีประจำคณะวิชา)