สายหลักโทไกโด

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สายหลักโทไกโด
JT
221 ซีรีส์ ในสายหลักโทไกโด ช่วงเกียวโต
ข้อมูลทั่วไป
ชื่ออื่น
ชื่อลำลอง東海道本線
เจ้าของ JR ตะวันออก
JR ตอนกลาง
JR ตะวันตก
ที่ตั้งภูมิภาค คันโต, โทไก, คันไซ
ปลายทาง
จำนวนสถานี166 (เฉพาะขนส่งผู้โดยสาร)
การดำเนินงาน
รูปแบบทางรถไฟหนัก
ประวัติ
เปิดเมื่อ14 ตุลาคม ค.ศ. 1872 (1872-10-14) (151 ปี)
ข้อมูลทางเทคนิค
ระยะทาง589.5 กิโลเมตร (366.3 ไมล์)
รางกว้าง1,067 mm (3 ft 6 in)
ระบบจ่ายไฟ1,500 V DC, ระบบจ่ายไฟฟ้าเหนือหัว
ความเร็ว130 กิโลเมตร/ชั่วโมง

ทางรถไฟ สายหลักโทไกโด (ญี่ปุ่น: 東海道本線โรมาจิTōkaidō-honsen) เป็นทางรถไฟที่ชุกชุมที่สุด[1] ในประเทศญี่ปุ่น เชื่อมระหว่างมหานครโตเกียว กับ นครโคเบะ ด้วยระยะทางทั้งหมด 589.5 กิโลเมตร โดยไม่นับเส้นทางขนส่งสินค้าระหว่างเมืองรายทาง อีกทั้งรถไฟความเร็วสูง โทไกโด ชิงกันเซ็ง ยังวิ่งขนานไปกับเส้นทางนี้ด้วย

สายหลักโทไกโดถูกครอบครองและดำเนินงานโดย 3 บริษัทรถไฟญี่ปุ่น คือ

ข้อมูลทั่วไป[แก้]

E231 ซีรีส์ EMU ในสายหลักโทไกโด
  • ระยะทางทั้งหมด: โตเกียว - โคเบะ ยาว 589.5 km (366.3 mi)
    • บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันออก (JR ตะวันออก) (บริการและรางคู่)
      • โตเกียว - อาตามิ: 104.6 km (65.0 mi)
      • ชินางาวะ - ชินคาวาซากิ - สึรุมิ: 17.8 km (11.1 mi)
      • ฮามามัตสึโช - สถานีบรรทุกโตเกียว - สถานีบรรทุกคาวาซากิ - ฮะมะ-คาวาซากิ: 20.6 km (12.8 mi) (สายบรรทุกโทไกโด)
      • สึรุมิ - ฮัตโช-นาวาเตะ: 2.3 km (1.4 mi) (สายบรรทุกโทไกโด)
      • สึรุมิ - ฮิงาชิทากาชิมะ - ซากูระงิโช: 8.5 km (5.3 mi) (สายทากาชิมะ)
      • สึรุมิ - โยโกฮามะ-ฮาซาวะ - ฮิงาชิโทสึกะ: 16.0 km (9.9 mi) (สายบรรทุกโทไกโด)
    • บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตอนกลาง (JR ตอนกลาง) (บริการและรางคู่)
      • อาตามิ - ไมบาระ: 341.3 km (212.1 mi) (3.3 km (2.1 mi) ระหว่าง คะนะยะมะ - นาโงยะ คาบเกี่ยวกับ สายหลักชูโอ)
      • โองะกิ - มิโนะ-อะกะซะกะ: 5.0 km (3.1 mi) (สายย่อยมิโนะ-อะกะซะกะ)
      • โองะกิ - (ชินทะรุอิ) - เซกิงาฮาระ: 13.8 km (8.6 mi) (สายชินทะรุอิ)
    • บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันตก (JR ตะวันตก) (บริการและรางคู่)
      • ไมบาระ - โคเบะ: 143.6 km (89.2 mi)
      • สถานีบรรทุกเกียวโต - ทัมบะงุชิ: 3.3 km (2.1 mi) (ไม่ใช้สำหรับขบวนขนส่งผู้โดยสาร)
      • ซุอิตะ - (ลานรถไฟมิยะฮะระ) - อามางาซากิ: 10.7 km (6.6 mi) (สายบรรทุกฮปโป)
      • ซุอิตะ - อูเมดะ - ฟูกูชิมะ: 8.5 km (5.3 mi) (สายบรรทุกอูเมดะ, ในใช้งาน ฮะรุกะ เอ็กซเพรส จำกัด)
    • บริษัทรถไฟบรรทุกญี่ปุ่น (JR บรรทุก) (บริการและรางคู่)
      • เขตสัญญาณซันโน - นาโงยะมินาโตะ: 6.2 km (3.9 mi) (สายนาโงยะ-มินาโตะ)
      • เขตสัญญาณซุอิตะ - สถานีบรรทุกโอซะกะ: 8.7 km (5.4 mi) (สายสถานีโอซะกะ)
    • บริษัทรถไฟบรรทุกญี่ปุ่น (JR บรรทุก) (บริการเฉพาะ)
      • ชินางาวะ - อาตามิ: 97.8 km (60.8 mi)
      • ชินางาวะ - เขตสัญญาณชินสึรุมิ: 13.9 km (8.6 mi)
      • สถานีบรรทุกโตเกียว - ฮะมะ-คาวาซากิ: 12.9 km (8.0 mi)
      • สึรุมิ - โยโกฮามะฮาซาวะ - ฮิงาชิโทสึกะ: 16.0 km (9.9 mi)
      • สึรุมิ - ฮัตโชนาวาเตะ: 2.3 km (1.4 mi)
      • สึรุมิ - ชินโก - ซากูระงิโช: 11.2 km (7.0 mi)
      • อาตามิ - ไมบาระ: 341.3 km (212.1 mi)
      • เขตสัญญาณมินามิ-อาราโอะ - เซกิงาฮาระ: 10.7 km (6.6 mi)
      • เขตสัญญาณมินามิ-อาราโอะ - มิโนะ-อะกะซะกะ: 1.9 km (1.2 mi)
      • ไมบาระ - โคเบะ: 139.0 km (86.4 mi) (via สายบรรทุกฮปโป)
      • สถานีบรรทุกเกียวโต - ทัมบะงุชิ: 3.3 km (2.1 mi)
      • ซุอิตะ - อูเมดะ - ฟูกูชิมะ: 8.5 km (5.3 mi)
  • ขนาดความกว้างรางรถไฟ: 1.067 เมตร ทางรถไฟรางขนาดแคบ (Narrow Gauge)
  • สถานี:
    • ผู้โดยสาร: 166 (ไม่รวม ชินางาวะ - ชินคาวาซากิ - สึรุมิ หรือส่วนอื่นนอกเหนือจาก สายย่อยมิโนะ-อะกะซะกะ)
      • JR ตะวันออก: 34
      • JR ตอนกลาง: 82
      • JR ตะวันตก: 50
    • เฉพาะบรรทุก: 14
  • ระบบราง:
    • สี่หรือมากกว่า
      • โตเกียว - โอดาวาระ: 83.9 km (52.1 mi)
      • นาโงยะ - อินาซาวะ: 11.1 km (6.9 mi)
      • คุซะสึ - โคเบะ: 98.1 km (61.0 mi)
    • สอง
      • โอดาวาระ - นาโงยะ
      • อินาซาวะ - คุซะสึ
      • ชินางาวะ - ชินคาวาซากิ - สึรุมิ
      • ฮามามัตสึโช - สถานีบรรทุกโตเกียว - สถานีบรรทุกคาวาซากิ - ฮะมะ-คาวาซากิ
      • สึรุมิ - ฮัตโช-นาวาเตะ
      • สึรุมิ - ฮิงาชิทากาชิมะ
      • สึรุมิ - โยโกฮามะ-ฮาซาวะ - ฮิงาชิโทสึกะ
      • ซุอิตะ - อูเมดะ
      • ซุอิตะ - (ลานรถไฟมิยะฮะระ) - อามางาซากิ
    • รางเดียว: ส่วนที่เหลือ
  • ระบบจ่ายไฟ: 1500 V DC (ยกเว้นเขตสัญญาณซันโน - นาโงยะ-มินาโตะ)
  • ระบบอาณัติสัญญาณรถไฟ: ควมคุมรถไฟอัตโนมัติ
  • ความเร็วสูงสุด:
    • โตเกียว - โอฟุนะ, โอดาวาระ - โทโยฮาชิ: 110 km/h (68 mph)
    • โอฟุนะ - โอดาวาระ, โทโยฮาชิ - ไมบาระ: 120 km/h (75 mph)
    • เขตสัญญาณมินามิ-อาราโอะ - ทะรุอิ - เซกิงาฮาระ, เขตสัญญาณมินามิ-อาราโอะ - มิโนะ-อะกะซะกะ: 85 km/h (53 mph)
    • ไมบาระ - โคเบะ: 130 km/h (81 mph)

อ้างอิง[แก้]

  1. Smith, Roderick A. (2003). "The Japanese Shinkansen". The Journal of Transport History. Imperial College, London. 24/2: 22–236.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]