สามเหลี่ยมกลับรถจักร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาพถ่ายทางอากาศของสามเหลี่ยมกลับรถจักร ที่ถูกทิ้งร้าง
ภาพประกอบของการใช้สามเหลี่ยมกลับรถจักร

สามเหลี่ยมกลับรถจักร เป็นคำที่ใช้กันในวงการรถไฟ หมายถึง รางรถไฟที่วางเรียงตัวกันเป็นรูปคล้ายสามเหลี่ยม โดยมีประแจเพื่อใช้สับรางอยู่ที่ยอดของสามเหลี่ยม ในประเทศไทยเคยมีใช้อยู่ในหลายสถานี เพื่อใช้ในการกลับทิศทางของรถจักรไอน้ำ แต่ในปัจจุบันเลิกใช้งานไปหมดแล้ว เนื่องจากไม่มีความจำเป็น เพราะรถจักรดีเซลไฟฟ้าที่ใช้อยู่ปัจจุบันนี้มีห้องขับทั้งสองด้าน

สามเหลี่ยมกลับรถจักรในประเทศไทย[แก้]

สามเหลี่ยมจิตรลดา

ปัจจุบัน[แก้]

อดีต[แก้]

  • สามเหลี่ยมกลับรถจักรนาทา
  • สามเหลี่ยมกลับรถจักรลำนารายณ์
  • สามเหลี่ยมกลับรถจักรขอนแก่น
  • สามเหลี่ยมกลับรถจักรกาญจนบุรี
  • สามเหลี่ยมกลับรถจักรประจวบคีรีขันธ์
  • สามเหลี่ยมกลับรถจักรแก่งคอย
  • สามเหลี่ยมกลับรถจักรบ้านภาชี
  • สามเหลี่ยมกลับรถจักรปากช่อง
  • สามเหลี่ยมกลับรถจักรนครสวรรค์
  • สามเหลี่ยมกลับรถจักรวังโพ
  • สามเหลี่ยมกลับรถจักรอรัญประเทศ
  • สามเหลี่ยมกลับรถจักรวังก์พง
  • สามเหลี่ยมกลับรถจักรบ้านนา
  • สามเหลี่ยมกลับรถจักรชุมทางหาดใหญ่
  • สามเหลี่ยมกลับรถจักรปอยเปต

ดูเพิ่ม[แก้]