สะพานซิงหม่า

พิกัด: 22°21′05″N 114°04′27″E / 22.35139°N 114.07417°E / 22.35139; 114.07417
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สะพานซิงหม่า
青馬大橋
สะพานมองจากซิงยี
พิกัด22°21′05″N 114°04′27″E / 22.35139°N 114.07417°E / 22.35139; 114.07417
เส้นทางรถไฟ, ยานพาหนะ
ข้ามช่องแคบหม่าวัน
ที่ตั้งนิวเทร์ริทอรีส์ ฮ่องกง
เจ้าของรัฐบาลฮ่องกง
ผู้ดูแลTIML MOM Limited
(ภายใต้สัญญาของ Highways Department)
ข้อมูลจำเพาะ
ประเภทสะพานแขวนสองชั้น
ความกว้าง41 เมตร (135 ฟุต)
ช่วงยาวที่สุด1,377 เมตร (4,518 ฟุต)
เคลียร์ตอนล่าง53 เมตร (174 ฟุต) (จำกัดความสูงในการจัดส่งอย่างเป็นทางการ)[1]
ประวัติ
ผู้ออกแบบมอตต์ แมคดอนัลด์
ผู้สร้างกิจการร่วมค้าก่อสร้างอังกฤษ ญี่ปุ่น
วันเริ่มสร้างพฤษภาคม 1992; 31 ปีที่แล้ว (1992-05)
วันสร้างเสร็จพฤษภาคม 1997; 26 ปีที่แล้ว (1997-05)
งบก่อสร้าง7.14 พันล้านดอลลาร์ฮ่องกง
เปิดตัว27 เมษายน 1997; 26 ปีก่อน (1997-04-27)
วันเปิด22 พฤษภาคม 1997; 26 ปีก่อน (1997-05-22)
สถิติ
การจราจรโดยเฉลี่ย87,764 คัน (2016)[2] (Lantau Link)
ค่าผ่านไม่มี (ตั้งแต่วันที่ 27 ธันวาคม ค.ศ. 2020)
ที่ตั้ง
แผนที่
สะพานซิงหม่า
อักษรจีนตัวเต็ม青馬大橋
อักษรจีนตัวย่อ青马大桥
ความหมายตามตัวอักษรสะพานใหญ่ซิงยี-หม่าวัน

สะพานซิงหม่า (จีน: 青馬大橋; อังกฤษ: Tsing Ma Bridge) เป็นสะพานในฮ่องกง ซึ่งเป็นสะพานแขวนที่ยาวอันดับที่ 16 ของโลก และขณะสร้างเสร็จถือเป็นสะพานที่ยาวเป็นอันดับสองของโลก[3] สะพานนี้ตั้งชื่อตามชื่อเกาะที่สะพานเชื่อมอยู่ คือ เกาะซิงยีและเกาะหม่าวัน มีช่วงกลางยาว 1,377 เมตร (4,518 ฟุต) และสูง 206 เมตร (676 ฟุต)

ตัวสะพานมีความกว้าง 41-เมตร (135-ฟุต) มีสองชั้น ชั้นบนมีเส้นทางรถวิ่งจำนวน 6 ช่องทาง ส่วนชั้นล่างใช้สำหรับรถไฟ 2 ช่องทาง และช่องทางสำรองสำหรับรถยนต์ ในช่วงฤดูมรสุมอีก 4 ช่องทาง[4]

สะพานแห่งนี้เป็นเส้นทางสำคัญที่เชื่อมย่านธุรกิจในฮ่องกง กับเกาะลันเตา เพื่อไปยังท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกงบนเกาะเช็คแลปก๊ก

อ้างอิง[แก้]

  1. Heaver, Stuart (17 June 2017). "Tsing Ma Bridge height debacle costing Hong Kong billions". South China Morning Post.
  2. "Section 4: Road Tunnels and Control Areas". 2017 Annual Transport Digest. Transport Department.
  3. "10 Tallest Bridges in the World | Top Weird,Odd and Cool lists". Weirdly Odd. 2010-12-01. สืบค้นเมื่อ 2013-04-29.
  4. Evaluation of typhoon induced fatigue damage for Tsing Ma Bridge เก็บถาวร 26 มกราคม 2020 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน[1]

อ่านเพิ่ม[แก้]

  • Y. L. Xu, J. M. Ko and Z. Yu. "Modal analysis of tower-cable system of Tsing Ma long suspension bridge". Engineering Structures. Volume 19, Issue 10, October 1997, pp. 857–867.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

22°21′05″N 114°04′27″E / 22.35139°N 114.07417°E / 22.35139; 114.07417

ก่อนหน้า
อุโมงค์หนานวาน
ฮ่องกงรูต 8

สะพานซิงหม่า
ถัดไป
สะพานรถไฟหม่าวัน