สมาพันธรัฐอเมริกา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สมาพันธรัฐอเมริกา

Confederate States of America
1861–1865
ธงชาติสมาพันธรัฐอเมริกา
ธงชาติ (1861–1863)
ตราแผ่นดิน (1863–1865)ของสมาพันธรัฐอเมริกา
ตราแผ่นดิน (1863–1865)
คำขวัญละติน: Deo vindice
"Under God, our Vindicator"
เพลงชาติ: '''ไม่มีเพลงชาติ
"ก็อดเซฟเดอะเซาท์" (โดยพฤตินัย)
"ดิกซี่" (ไม่เป็นทางการ ได้รับความนิยม)
มาร์ช
"เดอะบอนนีบลูแฟล็ก"
ที่ตั้งของสมาพันธรัฐอเมริกา
เมืองหลวงมอนต์โกเมรี
ริชมอนด์
แดนวิลล์
เมืองใหญ่สุดนิวออร์ลีนส์
ภาษาทั่วไปภาษาอังกฤษ (โดยพฤตินัย)
ภาษาอื่นๆ ได้แก่ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน และ ภาษาชนพื้นเมือง
การปกครองสมาพันธ์สาธารณรัฐระบบประธานาธิบดีแบบไม่ระบุพรรค
ประธานาธิบดี 
• 1861-1865
เจฟเฟอร์สัน เดวิส
สภานิติบัญญัติรัฐสภาสมาพันธรัฐ
ประวัติศาสตร์ 
• ก่อตั้ง
1861
• สิ้นสุด
1865
ประชากร
• ประมาณ
9,015,000 คน (ค.ศ.1861)
ก่อนหน้า
ถัดไป
สาธารณรัฐเซาท์แคโรไลนา
สาธารณรัฐมิสซิสซิปปี
สาธารณรัฐฟลอริดา
สาธารณรัฐอลาบามา
สาธารณรัฐจอร์เจีย
สาธารณรัฐลุยเซียนา
สาธารณรัฐเท็กซัส
สหรัฐ

สมาพันธรัฐอเมริกา (อังกฤษ: Confederate States of America; ย่อ: CSA) มักเรียกว่า สมาพันธรัฐ (อังกฤษ: Confederate States; ย่อ: CS) เป็นรัฐบาลแยกตัวออกซึ่งสถาปนาใน ค.ศ. 1861 ภายในดินแดนของสหรัฐ โดยเจ็ดรัฐทาส (คือ รัฐที่อนุญาตความเป็นทาส) ทางใต้ซึ่งประกาศแยกตัวออกจากสหรัฐหลังการเลือกตั้งเมื่อเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1860 ซึ่งอับราฮัม ลินคอล์นชนะ เจ็ดรัฐเหล่านี้สถาปนาชาติใหม่ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1861 ก่อนลินคอล์นเข้าดำรงตำแหน่งในเดือนมีนาคม หลังสงครามเริ่มขึ้นในเดือนเมษายน สี่รัฐอัปเปอร์เซาท์ (Upper South) ก็ประกาศแยกตัวออกและเข้าร่วมสมาพันธรัฐเช่นกัน ภายหลัง สมาพันธรัฐยอมรับอีกสองรัฐเข้าเป็นสมาชิก คือ รัฐมิสซูรีและรัฐเคนทักกี แม้สองรัฐนี้ไม่ได้ประกาศแยกตัวออกหรือถูกกำลังสมาพันธรัฐควบคุมอย่างเป็นทางการ

รัฐบาลสหรัฐ (สหภาพ) ปฏิเสธการแยกตัวออกและมองว่าสมาพันธรัฐมิชอบด้วยกฎหมาย สงครามกลางเมืองอเมริกาเริ่มขึ้นด้วยการเข้าตีค่ายซัมเทอร์ของสมาพันธรัฐใน ค.ศ. 1861 ซึ่งเป็นค่ายทหารบนท่าเรือชาร์ลสตัน รัฐเซาท์แคโรไลนา จนถึง ค.ศ. 1865 หลังการสู้รบอย่างหนัก ซึ่งส่วนใหญ่ในดินแดนสมาพันธรัฐ กำลังสมาพันธรัฐปราชัยและสมาพันธรัฐล่มสลายลง ไม่มีรัฐต่างประเทศใดรับรองสมาพันธรัฐเป็นประเทศเอกราช แต่อังกฤษและฝรั่งเศสให้สถานภาพคู่สงคราม

ประวัติศาสตร์[แก้]

เศรษฐกิจ[แก้]

ทาส[แก้]

การผลิตระดับประเทศ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  • Bowman, John S. (ed), The Civil War Almanac, New York: Bison Books, 1983
  • Eicher, John H., & Eicher, David J., Civil War High Commands, Stanford University Press, 2001, ISBN 0-8047-3641-3
  • Martis, Kenneth C. The Historical Atlas of the Congresses of the Confederate States of America 1861–1865 (1994) ISBN 0-13-389115-1

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]