สมการของการเคลื่อนที่

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

สมการของการเคลื่อนที่ คือ ชุดของสมการทางฟิสิกส์ที่ใช้สำหรับคำนวณ และ แก้ปัญหาการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ทั้งการเคลื่อนที่แนวตรง การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบวงกลม การเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิค

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์


เป็นการเคลื่อนที่ผสมระหว่างในแนวราบ ซึ่งเคลื่อนที่ด้วย

ความเร็วคงที่ กับแนวดิ่งซึ่งเคลื่อนที่แบบอิสระโดยมี

ความเร่ง g = 10 m/s2

1. ในแนวดิ่ง (แกน y )


ระยะที่ขึ้นได้สูงสุด

2. ในแนวราบ (แกน x )

S = ut

ระยะที่เคลื่อนที่ได้ตามแนวแกน x


เวลาทั้งหมดในการเคลื่อนที่

ความเร็วของวัตถุที่ตำแหน่งใด ๆ

การเคลื่อนที่แบบวงกลม

เป็นการเคลื่อนที่โดยมีแรงกระทำเข้าสู่ศูนย์กลางของวง

กลม และจะเกิดความเร่งเข้าสู่ศูนย์กลาง ความเร็วจะมีค่า

ไม่คงที่ เพราะมีการเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ โดยความ

เร็ว ณ ตำแหน่งใดจะมีทิศสัมผัสกับวงกลม ณ ตำแหน่งนั้น

สูตรการเคลื่อนที่เป็นวงกลม

1. ความเร็วเชิงเส้น (v) และความเร็วเชิงมุม

v = ความเร็วเชิงเส้น หน่วยเป็น 

เมตร/วินาที

= ความเร็วเชิงมุม หน่วยเป็น 

เรเดียล/วินาที

T = คาบการเคลื่อนที่ หน่วยเป็น 

วินาที

f = จำนวนรอบที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ใน

1 วินาที หน่วยเป็น เฮิรตซ์ (Hz)

2. ความเร่งสู่ศูนย์กลาง

ac = ความเร่งสู่ศูนย์กลาง หน่วยเป็น 

เมตร/วินาที2

r = รัศมี หน่วยเป็น เมตร 

F = แรงสู่ศูนย์กลาง หน่วยเป็น นิวตัน (N)

3. แรงสู่ศูนย์กลาง



รถเลี้ยวโค้งบนถนนราบ แรงเข้าสู่ศูนย์กลาง จะเป็นแรง

เสียดทานสถิต (fs) ดังนั้น





การเลี้ยวโค้งบนถนนเอียง




วัตถุผูกเชือกแล้วแกว่งให้เป็นวงกลม



การเคลื่อนที่เป็นวงกลมในแนวดิ่ง (โดยแตก )



การโคจรของดาว



r + h = รัศมีวงโคจร , T = คาบการหมุนของดาว

การเคลื่อนที่แบบหมุน


ความเร็วเชิงมุม มุมที่หมุนกวาดไป


โมเมนต์ความเฉื่อย

การเคลื่อนที่แบบ Simple Harmonic

เป็นการเคลื่อนที่ของวัตถุกลับไปมา ผ่านตำแหน่งสมดุล

เช่น การ สั่นของวัตถุที่ผูกกับสปริง หรือการแกว่งของลูกตุ้ม

นาฬิกา เป็นต้น

สปริง



การแกว่งลูกตุ้ม



วงกลม