สถานีย่อย:พายุหมุนเขตร้อน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี



สถานีย่อยพายุหมุนเขตร้อน
แก้ไข   

ตำแหน่งของพายุหมุนเขตร้อนในปัจจุบัน

แผนที่โลก
 C1 ดอน
 C1 ดอน
ปรับปรุงข้อมูล ณ วันที่ 23 กรกฎาคม 2566 เวลา 14:00 น. ()
แก้ไข   

พายุหมุนเขตร้อน คืออะไร ?

พายุหมุนเขตร้อน (Tropical cyclones) เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติ ที่สามารถทำความเสียหายได้รุนแรง และเป็นบริเวณกว้างมีลักษณะเด่น คือ มีศูนย์กลางหรือที่เรียกว่า ตาพายุ เป็นบริเวณที่มีลมสงบ อากาศโปร่งใส โดยอาจมีเมฆและฝนบ้างเล็กน้อยล้อมรอบด้วยพื้นที่บริเวณกว้างรัศมีหลายร้อยกิโลเมตร ซึ่งปรากฏฝนตกหนักและพายุลมแรง ลมแรงพัดเวียนเข้าหาศูนย์กลาง ดังนั้น ในบริเวณที่พายุหมุนเขตร้อนเคลื่อนที่ผ่าน ครั้งแรกจะปรากฏลักษณะอากาศโปร่งใส เมื่อด้านหน้าของพายุหมุนเขตร้อนมาถึงจะ ปรากฏลมแรง ฝนตกหนักและมีพายุฟ้าคะนอง ลมกระโชกแรงและอาจปรากฏพายุทอร์นาโด ในขณะตาพายุมาถึง อากาศจะโปร่งใสอีกครั้ง และเมื่อด้านหลังของพายุหมุนมาถึงอากาศจะเลวร้ายลงอีกครั้งและรุนแรงกว่าครั้งแรก

แก้ไข   

ภาพยอดเยี่ยม

พายุเฮอร์ริเคนไมเคิล เป็นพายุหมุนเขตร้อนที่รุนแรงที่สุดฤดูกาล 2561 ของพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก
และเป็นพายุที่ทรงพลังที่สุดในฤดูกาล 2561 ที่พัดเข้าสหรัฐ
ภาพยอดเยี่ยมทั้งหมด
แก้ไข   

คุณทำได้

แก้ไข   

หมวดหมู่

แก้ไข   

พายุหมุนเขตร้อนในปัจจุบัน

ปรับปรุงข้อมูล ณ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2566 14:00 น.

มหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ (2567)

มหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก/กลาง (2567)

ไม่มีพายุในปัจจุบัน

มหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก (2567)

มหาสมุทรอินเดียเหนือ (2567)

ไม่มีพายุในปัจจุบัน

เมดิเตอร์เรเนียน (2566–67)

ไม่มีพายุในปัจจุบัน

มหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้ (2566–67)

ไม่มีพายุในปัจจุบัน

ภูมิภาคออสเตรเลีย (2566–67)

ไม่มีพายุในปัจจุบัน

มหาสมุทรแปซิฟิกใต้ (2566–67)

ไม่มีพายุในปัจจุบัน

มหาสมุทรแอตแลนติกใต้ (2566–67)

ไม่มีพายุในปัจจุบัน

หมายเหตุ: ชื่อที่เป็นตัวเอียงคือแอ่งที่ไม่ถูกจัดแบ่งอย่างเป็นทางการ

แก้ไข   

รู้ไหมว่า...

พายุไต้ฝุ่นรามสูร เป็นพายุไต้ฝุ่นที่สร้างความเสียหายให้
ประเทศฟิลิปปินส์, จีน และเวียดนามในปี พ.ศ. 2557
ก่อตัวเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม สลายตัวเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2557
โดยประเทศจีนร้องขอให้ถอดถอนชื่อ รามสูร นี้ออกจากตารางชื่อสากล ซึ่งคณะกรรมการไต้ฝุ่นได้เลือกชื่อ บัวลอย ขึ้นมาแทนที่
แก้ไข   

หัวข้อ

แก้ไข   

ความรุนแรงพายุหมุนเขตร้อน

ตารางเปรียบเทียบความรุนแรงของพายุหมุนเขตร้อน
มาตรา
โบฟอร์ต
ความเร็วลมต่อเนื่อง 1 นาที
(NHC/CPHC/JTWC)
ความเร็วลมต่อเนื่อง 10 นาที
(WMO/JMA/MF/BOM/FMS)
แปซิฟิกตะวันออกเฉียงเหนือและ
แอตแลนติกเหนือ
NHC/CPHC
แปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ
JTWC
แปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ
JMA
มหาสมุทรอินเดียเหนือ
IMD
มหาสมุทรอินเดียตะวันตกเฉียงใต้
MF
ออสเตรเลียและแปซิฟิกใต้
BOM/FMS
0–7 <32 นอต (59 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) <28 นอต (52 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) พายุดีเปรสชันเขตร้อน พายุดีเปรสชันเขตร้อน พายุดีเปรสชันเขตร้อน พายุดีเปรสชัน พื้นที่ของอากาศแปรปรวน การแปรปรวนของลมในเขตร้อน
7 33 นอต (61 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) 28–29 นอต (52–54 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) พายุดีเปรสชันหมุนเร็ว การแปรปรวนของลมในเขตร้อน พายุดีเปรสชันเขตร้อน
8 34–37 นอต (63–69 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) 30–33 นอต (56–61 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) พายุโซนร้อน พายุโซนร้อน พายุดีเปรสชันเขตร้อน บริเวณความกดอากาศต่ำเขตร้อน
9–10 38–54 นอต (70–100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) 34–47 นอต (63–87 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) พายุโซนร้อน พายุไซโคลน พายุโซนร้อนกำลังปานกลาง พายุไซโคลน
ระดับ 1
11 55–63 นอต (102–117 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) 48–55 นอต (89–102 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) พายุโซนร้อนกำลังแรง พายุไซโคลนกำลังแรง พายุโซนร้อนกำลังแรง พายุไซโคลน
ระดับ 2
12+ 64–71 นอต (119–131 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) 56–63 นอต (104–117 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) พายุเฮอริเคนระดับ 1 พายุไต้ฝุ่น
72–82 นอต (133–152 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) 64–72 นอต (119–133 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง พายุไซโคลน
กำลังแรงมาก
พายุไซโคลน พายุไซโคลนกำลังแรง
ระดับ 3
83–95 นอต (154–176 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) 73–83 นอต (135–154 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) พายุเฮอริเคนระดับ 2
96–97 นอต (178–180 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) 84–85 นอต (156–157 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) พายุเฮอริเคน
ขนาดใหญ่ระดับ 3
พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง
อย่างมาก
98–112 นอต (181–207 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) 86–98 นอต (159–181 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) พายุไซโคลนกำลังแรง
อย่างมาก
พายุไซโคลนรุนแรง พายุไซโคลนกำลังแรง
ระดับ 4
113–122 นอต (209–226 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) 99–107 นอต (183–198 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) พายุเฮอริเคน
ขนาดใหญ่ระดับ 4
123–129 นอต (228–239 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) 108–113 นอต (200–209 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) พายุไต้ฝุ่นรุนแรง พายุไซโคลนกำลังแรง
ระดับ 5
130–136 นอต (241–252 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) 114–119 นอต (211–220 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น พายุซูเปอร์ไซโคลน พายุไซโคลนรุนแรงมาก
>137 นอต (254 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) >120 นอต (220 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) พายุเฮอริเคน
ขนาดใหญ่ระดับ 5
แก้ไข   

สถานีย่อยของวิกิพีเดียไทย