สติวเดนต์ซินโดรม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

สติวเดนต์ซินโดรม (อังกฤษ: student syndrome) หมายถึง อาการของคนที่จะเริ่มปลุกตัวเองให้กระตือรือร้นต่องานในช่วงเวลาสุดท้ายที่เป็นไปได้ก่อนที่จะถึงกำหนดส่ง ซึ่งเป็นการกระทำให้สูญเสียแก่ตนเองและทำให้เกิดการสร้างสิ่งรองรับที่หนักในการประมาณระยะเวลา[1]

ซึ่งมันถูกระบุไว้โดย Eliyahu M. Goldratt ในหนังสือนวนิยายเกี่ยวกับวิกฤตที่เป็นลูกโซ่

Student Syndrome เป็นรูปแบบหนึ่งของการผัดวันประกันพรุ่ง แต่จะมีการวางแผนได้แง่ที่ดี สำหรับตัวอย่างเช่น ถ้านักเรียนหรือกลุ่มของนักเรียนไปหาอาจารย์และมักจะถามเกี่ยวกับการขอเลื่อนการกำหนดเวลาโดยพวกเขาจะแก้ตัวในสิ่งที่เขาเรียกร้องโดยที่จะให้โครงงานที่เกินเวลานั้นได้ทำต่อไปได้อีก พวกเขาจะขอสิ่งนี้ด้วยความตั้งใจ ในความเป็นจริงนักเรียนส่วนใหญ่จะมีงานอื่นๆหรือกิจกรรมที่พวกเขาต้องการทำอย่างเต็มที่ที่จะใช้ในการปรับปรุงใบงานหรือโครงงาน สุดท้ายแล้วพวกเขาเหมือนในตอนที่เริ่มต้นคือต้องการที่จะเพิ่มเวลาเส้นตายไปอีก student syndrome คือการป้องกันโดยความเข้าใจของบุคคลธรรมดาของการทำงานของความจำของมนุษย์ เป็นสุดยอดแนวคิดของบุคคลในความจำระยะสั้นที่หายไปตามเวลาที่ผ่าน ดังนั้นการเรียนรู้เมื่อตอนสุดท้ายจะทำให้มีการเพิ่มความจำในระหว่างการสอบ ยิ่งไปกว่านั้นจะทำให้สูญเสียการจดจำในระยะยาวและความสำคัญลดน้อยลงสำหรับการนำเสนอที่ว่าง (ซึ่งเป็นเอาเปรียบของการไม่มีผลกระทบ)

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Goldratt, Eliyahu (1997). Critical Chain. The North River Press. p. 124. ISBN 0884291536. {{cite book}}: ตรวจสอบค่า |isbn=: checksum (help)