สงครามสี่สัมพันธมิตร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สงครามสี่สัมพันธมิตร
War of the Quadruple Alliance

ยุทธการแหลมพาสซาโร, 11 สิงหาคม ค.ศ. 1718
โดย ริชาร์ด เพทัน (สีน้ำมันบนผ้าใบ, ค.ศ. 1767)
วันที่ค.ศ. 1718ค.ศ. 1720
สถานที่
ผล สนธิสัญญากรุงเฮก (ค.ศ. 1720)
คู่สงคราม
 สเปน  จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
ราชอาณาจักรฝรั่งเศส ราชอาณาจักรฝรั่งเศส
สหราชอาณาจักร ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่
 สาธารณรัฐดัตช์
อาณาจักรดยุคแห่งซาวอย ซาวอย
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
สเปน Marquis of Lede
สเปน Duke of Montemar
สเปน Duke of Ormonde
สเปน Antonio Castañeta
ราชอาณาจักรฝรั่งเศส Duke of Berwick
จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ Count de Mercy
สหราชอาณาจักร Lord Cobham
สหราชอาณาจักร Sir George Byng
อาณาจักรดยุคแห่งซาวอย ดยุคแห่งซาวอย
ความสูญเสีย
4,350 เสียชีวิตและบาดเจ็บ [1] 11,250 ชาวออสเตรียเสียชีวิตและบาดเจ็บ
6,000 ชาวบริติชเสียชีวิตและบาดเจ็บ
3,000 ชาวฝรั่งเศสเสียชีวิตและบาดเจ็บ
2,250 ชาวซาร์ดิเนียเสียชีวิตและบาดเจ็บ
1,500 ชาวดัตช์เสียชีวิตและบาดเจ็บ[1]

สงครามสี่สัมพันธมิตร (อังกฤษ: War of the Quadruple Alliance; ค.ศ. 1718ค.ศ. 1720) เป็นสงครามที่เกิดจากความทะเยอทยานของพระเจ้าฟิลิปที่ 4 แห่งสเปน, พระมเหสีเอลิซาเบธ ฟาร์เนเซ และอัครมหาเสนาบดีจุยลิโอ อัลแบโรนีในการพยายามที่จะยึดดินแดนในอิตาลีคืน และ อ้างสิทธิในการครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศส ฝ่ายสเปนเป็นฝ่ายแพ้ต่อสัมพันธมิตรที่รวมทั้งราชอาณาจักรบริเตนใหญ่, ราชอาณาจักรฝรั่งเศส, อาณาจักรอาร์คดยุคแห่งออสเตรีย (ขณะนั้นเป็นรัฐบริวารของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์) และ สาธารณรัฐดัตช์ ต่อมาซาวอยเข้าร่วมในการสงครามกลายเป็นสัมพันธมิตรที่ห้า แม้ว่าการต่อสู้จะเริ่มขึ้นเมื่อต้นปี ค.ศ. 1717 แต่ก็มิได้มีการประกาศกันอย่างเป็นทางการจนกระทั่งเดือนธันวาคม ค.ศ. 1718 สงครามยุติลงด้วยการลงนามในสนธิสัญญากรุงเฮก (ค.ศ. 1720)

อ้างอิง[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]